กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดในสถานศึกษา
รหัสโครงการ 67-L7257-1-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองคอหงส์
วันที่อนุมัติ 23 กุมภาพันธ์ 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2567 - 15 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 28,160.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางพลอยไพลิน อินทร์แก้ว
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสิ่งเสพติด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2567 15 ก.ย. 2567 28,160.00
รวมงบประมาณ 28,160.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของนักเรียนที่มีความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด
0.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สังคมไทยในปัจจุบันปัญหาในชุมชนที่สำคัญ คือ ปัญหายาเสพติด ที่ได้แพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว เด็กและเยาวชนในวัยเรียนซึ่งเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาชาติในอนาคตมีความสุ่มเสี่ยงสูงที่จะติดยาเสพติด โดยเฉพาะนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4,5 และ 6 ซึ่งเป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ ล่อแหลม อยากรู้อยากลอง ขาดความยั้งคิด ติดเพื่อน มีปัญหาในครอบครัว รู้เท่าไม่ถึงการณ์ ขาดการชี้แนะให้รู้ถึงพิษภัยยาเสพติด ความเจริญเติบโตด้านเศรษฐกิจสังคมตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีและค่านิยมต่างชาติได้หลั่งไหลเข้าสู่ประเทศไทย สิ่งเหล่านี้ได้เข้ามามีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิต เนื่องจากปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาเป็นเรื่องที่นักเรียนเป็นส่วนหนึ่งของปัญหาและได้รับผลกระทบโดยตรง ดังนั้นการให้นักเรียนเข้ามามีส่วนร่วมรับรู้และมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จะเป็นแนวทางให้เกิดการยอมรับและยึดถือปฏิบัติอีกทั้งเป็นแนวร่วมในการดำเนินงานง่ายต่อการขยายผลไปสู่นักเรียนทุกคน

งานป้องกันและควบคุมโรค ฝ่ายบริการสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้ตระหนักถึงปัญหาเหล่านี้ และเพื่อป้องกันเยาวชนที่อยู่ในสถานศึกษาไม่ให้ไปยุ่งหรือข้องเกี่ยวกับปัญหายาเสพติด จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อป้องกัน แก้ไขโดยเน้นการให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับยาเสพติด และส่งเสริมให้นักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เพื่อให้ห่างไกลจากยาเสพติดและเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไปในอนาคต

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อปลูกจิตสำนึกของนักเรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติด

นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติดร้อยละ 80

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 28,160.00 0 0.00
??/??/???? กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด 0 28,160.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันไม่ให้เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
  2. นักเรียนมีส่วนร่วมในการรณรงค์และเฝ้าระวังป้องกันมิให้มีการแพร่ระบาดของยาเสพติดเข้ามาสู่โรงเรียน
  3. เพื่อให้นักเรียนนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้แก่ตนเอง และครอบครัว ตลอดจนร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการเฝ้าระวัง ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในระดับสถานศึกษา และชุมชน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 ม.ค. 2567 11:06 น.