กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน


“ โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสร้างเสริมทักษะชีวิตอย่างยั่งยืน ”

โรงเรียนวัดขนุน

หัวหน้าโครงการ
นางสาวภิรมร์ อินธนู

ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสร้างเสริมทักษะชีวิตอย่างยั่งยืน

ที่อยู่ โรงเรียนวัดขนุน จังหวัด

รหัสโครงการ 2567-L5270-2-03 เลขที่ข้อตกลง 28/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสร้างเสริมทักษะชีวิตอย่างยั่งยืน จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนวัดขนุน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสร้างเสริมทักษะชีวิตอย่างยั่งยืน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสร้างเสริมทักษะชีวิตอย่างยั่งยืน " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนวัดขนุน รหัสโครงการ 2567-L5270-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงเรียนวัดขนุน ตั้งอยู่ที่หมู่ 2 ตำบลวัดขนุนอำเภอสิงหนครจังหวัดสงขลา มีเนื้อที่ประมาณ 4 ไร่ 3 งาน - ตารางวา สถานที่ตั้งของโรงเรียนวัดขนุน ทางทิศตะวันตก อยู่ติดถนนสงขลา – ระโนด ห่างจากตัวอำเภอประมาณ 10 กิโลเมตร ตั้งอยู่เขตชานเมือง มีโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่จำนวน 5 แห่ง ปัจจุบันโรงเรียนวัดขนุน ได้เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ 1 จนถึงประถมศึกษาปีที่ 6 มีนักเรียนจำนวน 102คน มีผู้อำนวยการ1คน ข้าราชการครู 4 คน ครูอัตราจ้าง 2 คน เจ้าหน้าที่ธุรการ 1 คน รวม บุคลากรจำนวน 8 คน อาชีพหลักของผู้ปกครอง คือ อาชีพรับจ้างร้อยละ 70 เกษตรกรคิดเป็นร้อยละ 10 ประมงร้อยละ10 อาชีพค้าขายคิดเป็นร้อยละ 10การคมนาคมสะดวก เพราะติดถนนสายหลัก มีการใช้รถจักรยาน จักรยานยนต์ และรถยนต์การเดินทางและการขนส่งสะดวกมากประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธสภาพปัญหาในชุมชนที่โรงเรียนตั้งอยู่พบว่ามีด้านต่างๆเนื่องจากมีโรงงานอยู่ในพื้นที่จำนวน 5 บริษัทเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพของนักเรียนและชาวบ้านในชุมชนได้แก่ปัญหาด้านสุขภาพของนักเรียนและ ด้านสิ่งแวดล้อมในชุมชน ขยะมูลฝอย
โรงเรียนได้ดำเนินการแก้ปัญหาด้านสุขภาพนักเรียนโดยการจัดกิจกรรมออกกำลักกายเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักการออกกำลังกาย และปัญหาด้านสภาพแวดล้อม ขยะมูลฝอย การรู้จักคัดแยกขยะ ซึ่งเป็นปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิต ร่างกายจะเจริญเติบโต มีสุขภาพที่สมบูรณ์ เมื่อได้รับอากาศที่บริสุทธิ์ปราศจากมลพิษเพื่อสร้างความพร้อมในการเรียนรู้ให้กับเด็กในวัยเรียน สุขภาพที่ดีย่อมเป็นฐานรากที่สำคัญในการเจริญเติบโตทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม
ดังนั้นนอกจากโรงเรียนจะดำเนินการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนตามตัวชี้วัดภายใต้องค์ประกอบ 10 ประการแล้วโรงเรียนจะเน้นกระบวนการของกิจกรรมให้สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพที่เน้นการวัดผลทางสุขภาพและพฤติกรรมของนักเรียน ซึ่งการดำเนินการพัฒนากิจกรรมด้านสุขภาพให้บรรลุตามเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพได้นั้นโรงเรียนจะต้องได้รับความร่วมมือและสนับสนุนจากชุมชนและหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จากผลการดำเนินงานของโรงเรียนวัดขนุนเกี่ยวกับด้านสุขภาพนักเรียน พบว่า ขาดความตระหนักในการดูแลเอาใจใส่สุขภาพโดยเฉพาะปัญหารขยะซึ่งเป็นปัญหาสภาพแวดล้อม และปัญหาด้านการขาดการออกกำลังกายเนื่องจากใช้โทรศัพท์มือถือ ติดเกมออนไลน์ส่งผลต่อการเรียน ดังนั้นโรงเรียนวัดขนุนโดยคณะครูผู้บริหารคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานผู้นำชุมชนเห็นความสำคัญในการใส่ใจดูแลสุขภาพของนักเรียน คนในครอบครัวและชุมชนจึงได้จัดทำโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสร้างเสริมทักษะชีวิตอย่างยั่งยืนขึ้นเพื่อให้ครูและบุคลากรนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธีและเกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. นักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพด้านต่างๆ ส่งเสริมการออกกำลังกาย
  2. เพื่อให้นักเรียนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูและสุขภาพและแนะนำผู้อื่นในการดูแลสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1.แยกขยะก่อนทิ้ง ดีต่อใจ ดีต่อโลก
  2. กิจกรรมที่ 2ว่ายน้ำให้เป็น เล่นให้รอด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการออกกำลังการยและการดูแลสุขภาพ
  2. นักเรียนมีสุขภาพที่ดีตามหลักสุขอนามัย
  3. นักเรียนมีความรู้ในการคัดแยกประเภทของขยะ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 นักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพด้านต่างๆ ส่งเสริมการออกกำลังกาย
ตัวชี้วัด : นักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการออกกำลังและการดูแลสุขภาพ เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
50.00 70.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูและสุขภาพและแนะนำผู้อื่นในการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 90 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูและสุขภาพและแนะนำผู้อื่นในการดูแลสุขภาพผ่านเกณฑ์
50.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) นักเรียน  มีความรู้  ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพด้านต่างๆ ส่งเสริมการออกกำลังกาย (2) เพื่อให้นักเรียนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูและสุขภาพและแนะนำผู้อื่นในการดูแลสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1.แยกขยะก่อนทิ้ง ดีต่อใจ ดีต่อโลก (2) กิจกรรมที่ 2ว่ายน้ำให้เป็น เล่นให้รอด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสร้างเสริมทักษะชีวิตอย่างยั่งยืน จังหวัด

รหัสโครงการ 2567-L5270-2-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวภิรมร์ อินธนู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด