กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพ เทศบาลตำบลแหลมโตนด


“ โครงการส่งเสริมสุขอนามัย ปลอดโรคปลอดภัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกองเกวียน ”

ตำบลแหลมโตนด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางลำยวน บัวทอง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขอนามัย ปลอดโรคปลอดภัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกองเกวียน

ที่อยู่ ตำบลแหลมโตนด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3326-03-06 เลขที่ข้อตกลง 14/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขอนามัย ปลอดโรคปลอดภัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกองเกวียน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแหลมโตนด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพ เทศบาลตำบลแหลมโตนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขอนามัย ปลอดโรคปลอดภัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกองเกวียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขอนามัย ปลอดโรคปลอดภัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกองเกวียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแหลมโตนด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3326-03-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,363.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพ เทศบาลตำบลแหลมโตนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดำเนินงานการป้องกันควบคุมโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้มีประสิทธิภาพจึงเป็นสิ่งจำเป็นและมีความสำคัญอย่างยิ่งในการช่วยลดการเกิดและแพร่กระจายของโรคติดต่อดังกล่าว โดยครูผู้ดูแลเด็กเป็นบุคคลที่สำคัญอย่างยิ่งที่จะพัฒนาให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดภัยจากโรคต่างๆ เนื่องจากผู้ที่อยู่ใกล้ชิดเด็กมากที่สุดในช่วงที่เด็กอยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อีกตั้งเป็นผู้มีอิทธิพลในการดูแลและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และการส่งเสริมพัฒนาการด้านต่างๆ ของเด็กและสิ่งสำคัญอีกประการที่จะช่วยให้การดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันทั้งพ่อแม่ผู้ปกครองครูผู้ดูแลเล็ก ในการส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างเข้มแข็ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกองเกวียน มีครูผู้ดูแลเด็กจำนวน5 คนและเด็กทั้งหมด 53 คน เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้รับการบริการส่งเสริมสุขภาพครอบคลุมทุกด้านอยู่ในแวดล้อมที่สะอาดที่ปลอดภัย เอื้อต่อการมีสุขภาพกายและใจที่ดี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกองเกวียนได้เล็งเห็นความสำคัญของการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจึงเปรียบเสมือนประการสำคัญที่จะช่วยลดการติดเชื้อที่อาจเกิดขึ้นในเด็กจึงได้จัดทำ โครงการ “ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกองเกวียนปลอดโรค”เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ได้มาตรฐาน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้ และตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  2. เพื่อส่งเสริมทักษะการดูแลตนเองที่จำเป็นสำหรับเด็ก
  3. เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ให้ปลอดภัย ปลอดโรค
  4. เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมโรคมือ เท้า ปากโรคไข้เลือดออก โรคตาแดง และโรคติดต่ออื่นๆที่จะเกิดขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และร่วมกันควบคุมโรค
  5. ลดอัตราการป่วยจากโรคมือเท้าปาก โรคไข้เลือดออก โรคตาแดง และโรคติดต่ออื่นๆที่เกิดขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  6. ครู ผู้ดูแลเด็ก และเด็กอายุ 2-5 ปีมีวิธีป้องกันและรับมือกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมครูผู้ปกครองและเด็ก เพื่อให้มีความรู้ในการดูแลเด็กให้มีพัฒนาการดี ปลอดโรค ปลอดภัย
  2. จัดกิจกรรม เสริมทักษะการดูแลตนเองให้ปลอดโรค ได้แก่ ทักษะการล้างมือ ทักษะ การแปรงฟัน การเลือกกินอาหารที่ถูกต้อง ครบ 5 หมู่ ทักษะเอาตัวรอดจากการเกิดเหตุฉุกเฉินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  3. ร่วมกับชุมชนในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้ปลอดภัย ปลอดโรค เช่น การกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือแหล่งเพาะพันธ์พาหนะนำโรค ปรับปรุงห้องนอน ปรับปรุงสนามเด็กเล่น ปรับปรุงห้องครัว โรงอาหารให้เหมาะสม
  4. จัดซื้อน้ำยาฆ่าเชื้อโรค ประกอบด้วย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 58
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 58
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้ และตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละเด็กอายุ2-5 ปี มีสุขอนามัยที่แข็งแรง ปลอดภัย ปลอดโรค เพื่อคุณภาพชีวิตพื้นฐานที่ดี
70.00 80.00

 

2 เพื่อส่งเสริมทักษะการดูแลตนเองที่จำเป็นสำหรับเด็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละเด็อายุ 2-5 ปี มีทักษะในดูแลตนเองในการป้องกันการเกิดโรค
60.00 70.00

 

3 เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ให้ปลอดภัย ปลอดโรค
ตัวชี้วัด : ร้อยเด็กละเด็กอายุ 2-5 ปีในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกองเกวียนสภาพแวดล้อมที่สะอาด ปลอดภัย ปลอดโรค และมีสุขภาพดี
100.00 100.00

 

4 เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมโรคมือ เท้า ปากโรคไข้เลือดออก โรคตาแดง และโรคติดต่ออื่นๆที่จะเกิดขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และร่วมกันควบคุมโรค
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ครู ผู้ดูแลเด็กเด็ก และผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปากโรคไข้เลือดออก โรคตาแดง และโรคติดต่ออื่นๆ
70.00 100.00

 

5 ลดอัตราการป่วยจากโรคมือเท้าปาก โรคไข้เลือดออก โรคตาแดง และโรคติดต่ออื่นๆที่เกิดขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละเด็กอายุ2-5 ปีไม่ป่วยเป็นโรคมือเท้าปาก โรคไข้เลือดออก โรคตาแดง และโรคติดต่ออื่นๆ
50.00 85.00

 

6 ครู ผู้ดูแลเด็ก และเด็กอายุ 2-5 ปีมีวิธีป้องกันและรับมือกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละเด็กอายุ 2-5 ปี มีวิธีป้องกันเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
40.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 116
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 58
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 58
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้ และตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (2) เพื่อส่งเสริมทักษะการดูแลตนเองที่จำเป็นสำหรับเด็ก (3) เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ให้ปลอดภัย ปลอดโรค (4) เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมโรคมือ เท้า ปากโรคไข้เลือดออก โรคตาแดง และโรคติดต่ออื่นๆที่จะเกิดขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และร่วมกันควบคุมโรค (5) ลดอัตราการป่วยจากโรคมือเท้าปาก โรคไข้เลือดออก โรคตาแดง และโรคติดต่ออื่นๆที่เกิดขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (6) ครู  ผู้ดูแลเด็ก และเด็กอายุ 2-5 ปีมีวิธีป้องกันและรับมือกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมครูผู้ปกครองและเด็ก เพื่อให้มีความรู้ในการดูแลเด็กให้มีพัฒนาการดี ปลอดโรค ปลอดภัย (2) จัดกิจกรรม เสริมทักษะการดูแลตนเองให้ปลอดโรค ได้แก่ ทักษะการล้างมือ ทักษะ การแปรงฟัน การเลือกกินอาหารที่ถูกต้อง ครบ 5 หมู่ ทักษะเอาตัวรอดจากการเกิดเหตุฉุกเฉินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (3) ร่วมกับชุมชนในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้ปลอดภัย ปลอดโรค เช่น การกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือแหล่งเพาะพันธ์พาหนะนำโรค ปรับปรุงห้องนอน ปรับปรุงสนามเด็กเล่น ปรับปรุงห้องครัว โรงอาหารให้เหมาะสม (4) จัดซื้อน้ำยาฆ่าเชื้อโรค ประกอบด้วย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขอนามัย ปลอดโรคปลอดภัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกองเกวียน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3326-03-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางลำยวน บัวทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด