กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา


“ โครงการหนูน้อยปฐมวัยสวมหมวกนิรภัยมีวินัยจราจร ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยปฐมวัยสวมหมวกนิรภัยมีวินัยจราจร ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L2979-3-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยปฐมวัยสวมหมวกนิรภัยมีวินัยจราจร ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยปฐมวัยสวมหมวกนิรภัยมีวินัยจราจร ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยปฐมวัยสวมหมวกนิรภัยมีวินัยจราจร ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L2979-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 3,390.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลายประเทศทั่วโลกกำลังประสบปัญหาการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตขณะขับขี่ยานพาหนะสองล้อ เช่น รถจักรยาน และจักรยานยนต์ และการเสียชีวิตและบาดเจ็บสาหัสส่วนใหญ่มาจาก อาการบาดเจ็บที่ศีรษะ ซึ่งหมวกนิรภัยที่มีประสิทธิภาพในการลดความเสี่ยงที่จะบาดเจ็บที่ ศีรษะและ ลดอาการรุนแรงของอาการบาดเจ็บลงได้การส่งเสริมให้ผู้ขับขี่มีวินัยและสวมหมวกนิรภัยมากขึ้น จึงเป็นวิธีการสำคัญ ในการเพิ่มความปลอดภัยบนท้องถนน และเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการลดการเสียชีวิตและการบาดเจ็บที่ศีรษะอันเนื่องมาจากอุบัติเหตุ ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ที่ไม่สวมหมวกนิรภัยมีความเสี่ยงสูงที่จะได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะหรือเสียชีวิตจากการบาดเจ็บประเภทนี้ นอกจากนี้ผู้ขับขี่ที่ไม่สวมหมวกนิรภัยยังเพิ่มภาระให้แก่โรงพยาบาลที่รับตัวเข้ารักษา เป็นภาระแก่บุคคล ครอบครัว (หรือผู้ดูแล) และสังคม หากต้องกลายเป็นคนพิการสาเหตุการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนในประเทศไทย 99% เกิดจากการไม่สวมหมวกนิรภัย โดยรายงานของสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน (ประเทศไทย) ยังเผยว่า มีเด็กไทยเพียง 7% เท่านั้นที่ใส่หมวกนิรภัยระหว่างการเดินทาง ซึ่งอัตราการใช้หมวกนิรภัยจำนวนน้อยนี่เอง สะท้อนให้เห็นถึงความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ว่าภัยอันตรายรอบตัวนั้นสามารถเกิดขึ้นได้แบบไม่คาดฝันและเป็นเรื่องที่น่ากังวลที่พ่อแม่และผู้ปกครองหลายๆ คนไม่ตระหนักถึงความสำคัญในการให้บุตรหลานสวมใส่หมวกนิรภัยขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์ แล้วก็ยังมีอีกหลายครอบครัวที่แม้จะสวมหมวกนิรภัยให้เด็กแต่ไม่รู้ว่าจะเลือกใช้หมวกนิรภัยที่มีคุณภาพ มีขนาดพอดีกับศีรษะเด็ก และจะสวมใส่หมวกนิรภัยให้เด็กอย่างถูกวิธีได้อย่างไร และพฤติกรรมการขับขี่ที่ประมาทขาดความระมัดระวัง ชะล่าใจ ขับขี่ด้วยความเร็ว การฝ่าสัญญาณไฟ การขับขี่ในช่องจราจรที่ไม่ถูกต้อง การเปลี่ยนช่องทางจราจรโดยไม่เปิดสัญญาณไฟ เนื่องจากอาจเข้าใจว่าเป็นพื้นที่ที่การจราจรไม่ได้หนาแน่นเหมือนในเมือง เป็นต้น ด้วยเหตุนี้การรณรงค์ส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยและได้มาตรฐานรวมถึงการเรียนรู้วิธีการใช้ถนนอย่างถูกต้อง จึงเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญในการป้องกันและสร้างความตระหนักถึงความปลอดภัยบนท้องถนน เพื่อลดการสูญเสียจากอุบัติเหตุ ดังนั้น เพื่อกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมที่ถูกต้องในการใช้ถนนการสร้างความรู้ความเข้าใจแก่เด็กพ่อแม่และผู้ปกครองให้เห็นถึงความสำคัญของการใช้หมวกนิรภัย พร้อมอบรมวินัยจราจร ซึ่งเป็นเรื่องจำเป็นอย่างมากในการช่วยลดการเกิดอุบัติเหตุและจำนวนตัวเลขผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตในเด็กโดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กที่ถือเป็นอนาคตของชาติ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งพลา ตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างความปลอดภัยบนท้องถนนของเด็กปฐมวัย จึงได้จัดทำ โครงการหนูน้อยปฐมวัยสวมหมวกนิรภัยมีวินัยจราจร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕66ขึ้นโดยการจัดอบรมให้ความรู้ด้านความปลอดภัยทางท้องถนนและการสาธิตการใช้หมวกนิรภัยอย่างถูกวิธีให้กับครู เด็กปฐมวัยและผู้ปกครอง โดยเน้นให้เด็กๆ เป็นศูนย์กลาง ส่วนครูและผู้ปกครองจะทำหน้าที่เป็นผู้ดูแลและให้ความรู้ที่ถูกต้องอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เด็กๆ ได้เดินทางไปกลับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้อย่างปลอดภัย และหวังจะลดจำนวนการบาดเจ็บและเสียชีวิตของเด็กไทยจากอุบัติเหตุทางถนน
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งพลา จึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยปฐมวัยสวมหมวกนิรภัยมีวินัยจราจรขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ผู้ขับขี่มีวินัยและสวมหมวกนิรภัยมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนเด็กปฐมวัยครูและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความปลอดภัยทางถนนและกระตุ้นให้ครูและผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการใส่หมวกนิรภัยให้กับเด็กเล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการในการสร้างวินัยจราจรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เพื่อสร้างความตระหนักให้กับผู้ปกครองและเด็กนักเรียนศูนย์ฯในการสร้างวินัยในการสวมหมวกกันน็อค
เพื่อลดความรุนแรงของการเกิดอุบัติเหตุจากการขับขี่มอเตอร์ไซต์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนเด็กปฐมวัยครูและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความปลอดภัยทางถนนและกระตุ้นให้ครูและผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการใส่หมวกนิรภัยให้กับเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยได้รับความรู้และการฝึกทักษะการขับขี่ปลอดภัยและการสวมหมวกนิรภัยที่ได้มาตรฐานเพื่อป้องกันการบาดเจ็บจากการขับขี่ (ร้อยละ)
0.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนเด็กปฐมวัยครูและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความปลอดภัยทางถนนและกระตุ้นให้ครูและผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการใส่หมวกนิรภัยให้กับเด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการในการสร้างวินัยจราจรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูน้อยปฐมวัยสวมหมวกนิรภัยมีวินัยจราจร ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L2979-3-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด