กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการผักปลอดสารพิษ สุขภาพดี ชุมชนเมืองใหม่
รหัสโครงการ L7255-02-8
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ คณะกรรมการชุมชนเมืองใหม่
วันที่อนุมัติ 25 มีนาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 11 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 31,060.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายพงษ์นิวัต แก้วะออง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่เสี่ยงที่จะได้รับารตกค้างจากวัตถุดิบ
38.00
2 ร้อยละของผัก ผลไม้ที่มีการใช้สารเคมีในการเพาะปลูก
83.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

อันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในปัจจุบัน เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่มีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชกันอย่างแพร่หลายเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร และสารเคมีกำจัดศัตรูพืช เหล่านั้น ยังสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง ไม่ว่าจะเป็นทางการสัมผัสทางผิวหนัง การสูดหายใจละอองที่ฟุ้งกระจายในอากาศ โดยผู้บริโภคจะได้รับพิษทางอ้อม จากผลผลิตทางการเกษตรที่มีสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างปนเปื้อนอยู่ แม้ได้รับในปริมาณต่ำแต่การที่ได้รับเป็นประจำ สารเคมีเหล่านั้นจะสะสมในระบบต่างๆของร่างกาย ทำให้เกิดความผิดปกติและโรคต่างๆ เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือด และระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น ดังนั้นคณะกรรมการชุมชนเมืองใหม่ มีความประสงค์ให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับความรู้ ความเข้าใจ เรื่องสารพิษที่มากับวัตถุดิบที่ใช้ในการประกอบอาหารในชีวิตประจำวัน โดยสามารถเข้าใจถึงการใช้สารพิษของเกษตรกร การล้างทำความสะอาดเพื่อลดสารพิษ สารเคมีที่มากับวัตถุดิบ ตลอดจนการล้างพิษในร่างกายเพื่อให้สุขภาพของประชาชนดีขึ้น ปราศจากโรคภัยที่มาจากการรับประทานสารเคมีดังกล่าว

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 จำนวนร้อยละของประชาชนที่เสี่ยงที่จะได้รับารตกค้างจากวัตถุดิบลดลง

ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถจัดการกับวัตถุดิบได้อย่างถูกหลักอนามัย

38.00 20.00
2 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเลือกซื้อวัตถุดิบได้อย่างเหมาะสม

ร้อยละของผลไม้ และผักที่ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเลือกซื้อได้อย่างเหมาะสม

83.00 85.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : จำนวนร้อยละของประชาชนที่เสี่ยงที่จะได้รับารตกค้างจากวัตถุดิบลดลง

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเลือกซื้อวัตถุดิบได้อย่างเหมาะสม

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

5 มี.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 ติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการ 0.00 -
10 มี.ค. 67 ประชุมวางแผนการดำเนินโครงการ 0.00 -
11 - 31 มี.ค. 67 ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ 950.00 -
3 เม.ย. 67 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องวัตถุดิบที่ดีห่างไกลสารตกค้าง 28,510.00 -
30 ก.ย. 67 ประชุมสรุปโครงการฉบับสมบูรณ์ส่งกองทุนหลักประกันสุขภาพ 1,600.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนสามารถเลือกใช้วัตถุดิบที่เหมาะสมในการทำอาหารได้อย่างปลอดภัย

2.ประชาชนสามารถล้างสารพิษที่ตกค้างได้อย่างเหมาะสม

3.ประชาชนได้รับประทานอาหารที่ถูกหลักอนามัย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 ม.ค. 2567 13:10 น.