กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา


“ โครงการไกลชรา กายาแข็งแรงด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ปี 2567 ”

ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฟาติน เด่นตุลาการ

ชื่อโครงการ โครงการไกลชรา กายาแข็งแรงด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 2/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 มกราคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการไกลชรา กายาแข็งแรงด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการไกลชรา กายาแข็งแรงด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการไกลชรา กายาแข็งแรงด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 มกราคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,790.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 250 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ประเทศไทยในปัจจุบันประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากรายงานสำนักงานสถิติแห่งชาติในปี 2565 ผู้สูงอายุในประเทศไทยมีถึงประมาณ 12.1 ล้านคน คิดเป็นเกือบร้อยละ 18.3 ของประชากรทั้งประเทศ ที่มีอยู่ 66.18 ล้านคน องค์การสหประชาชาติได้ให้นิยามว่าประเทศใดมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป ในสัดส่วนเกิน 10% ของประชากรทั้งประเทศ ถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) ดังนั้นประเทศไทยจึงนับได้ว่าได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้ว (สถิติผู้สูงอายุ กรมกิจการผู้สูงอายุ, 2560) ข้อเข่าเสื่อมหรือโรคข้อเข่าเสื่อม เป็นภาวะที่ข้อเข่าผ่านการใช้งานมาเป็นเวลานานเกิดการเสื่อมของกระดูกอ่อนบริเวณผิวข้อ ทำให้มีการงอกของกระดูก เวลาเดินจะเจ็บข้อ มีการผิดรูปของข้อเข่า โรคข้อเข่าเสื่อมมักพบในผู้สูงอายุ ทำให้เกิดความทรมานแก่ผู้สูงอายุเป็นอย่างยิ่ง คุณภาพชีวิตลดลง และทำให้โรคอื่น ๆ กำเริบ เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เนื่องจากออกกำลังกายไม่ได้ โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคที่พบได้บ่อยมากในผู้สูงอายุ ทำให้เกิดอาการ ปวดเข่า บวม เข่าฝืดยึด มีเสียงดังในเข่า ไม่สามารถประกอบกิจวัตรประจำวันได้ดังปกติ “เท้า” ซึ่งเป็นแหล่งรวมของจุดประสาทต่าง ๆ การที่จะมีสุขภาพที่ดีได้นั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีสุขภาพเท้าที่ดีเช่นกัน โดยการดูแลเท้าทั้ง 2 ข้างด้วยการแช่เท้าในน้ำอุ่นที่มีอุณหภูมิพอเหมาะและใส่สมุนไพรเข้าไปผสมด้วย (พิมพ์วิภา แพรกหา,2557) ซึ่งสามารถช่วยในการเพิ่มการไหลเวียนของเลือดมาบริเวณเท้าได้มากขึ้น ทำให้รู้สึกผ่อนคลาย ระบบ ย่อยอาหารดีขึ้น ลดอาการบวมของเท้าในผู้สูงอายุที่มีอาการป่วยเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูงเป็นต้น อีกทั้งยังช่วยในเรื่องของการนอนหลับให้ง่ายขึ้น และสามารถลดอาการเครียดในผู้สูงอายุได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีคุณภาพชีวิตและเห็นคุณค่าตนเองมากขึ้น
  2. ผู้สูงอายุได้รับการรักษาข้อเข่าเสื่อมและอาการปวดเท้าด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
  3. ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถดำเนินกิจวัตรประจำวันในชีวิตได้ดีขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมนวดรักษา ประคบด้วยลูกประคบสมุนไพร
  2. กิจกรรมผลิตยาหม่องสมุนไพรเพื่อบรรเทาอาการในกลุ่มผู้สูงอายุ
  3. กิจกรรมพอกเข่าสมุนไพรบริเวณข้อเข่าเสื่อมและแช่เท้าด้วยสมุนไพรในกลุ่มผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 250
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ไปใช้และปฏิบัติได้ในชีวิตประจำวัน 2.ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีคุณภาพชีวิตและเห็นคุณค่าตนเองมากขึ้น 3.ผู้สูงอายุได้รับการรักษาข้อเข่าเสื่อมและอาการปวดเท้าด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีคุณภาพชีวิตและเห็นคุณค่าตนเองมากขึ้น
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีคุณภาพชีวิตและเห็นคุณค่าตนเอง ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
250.00 100.00

 

2 ผู้สูงอายุได้รับการรักษาข้อเข่าเสื่อมและอาการปวดเท้าด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้รับการรักษาข้อเข่าเสื่อมและอาการปวดเท้าด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
250.00 100.00

 

3 ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถดำเนินกิจวัตรประจำวันในชีวิตได้ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุสามารถเข้าร่วมกิจกรรมสามารถดำเนินกิจวัตรประจำวันในชีวิตได้ดีขึ้นร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
250.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 250
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีคุณภาพชีวิตและเห็นคุณค่าตนเองมากขึ้น (2) ผู้สูงอายุได้รับการรักษาข้อเข่าเสื่อมและอาการปวดเท้าด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย (3) ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถดำเนินกิจวัตรประจำวันในชีวิตได้ดีขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมนวดรักษา ประคบด้วยลูกประคบสมุนไพร (2) กิจกรรมผลิตยาหม่องสมุนไพรเพื่อบรรเทาอาการในกลุ่มผู้สูงอายุ (3) กิจกรรมพอกเข่าสมุนไพรบริเวณข้อเข่าเสื่อมและแช่เท้าด้วยสมุนไพรในกลุ่มผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการไกลชรา กายาแข็งแรงด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ปี 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฟาติน เด่นตุลาการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด