กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นและมีทักษะการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพได้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย 2. เกิดทีมเฝ้าระวังด้านการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน 3. ผู้ประสบเหตุฉุกเฉิน ได้รับการปฐมพยาบาลหรือช่วยเหลือฟื้นคืนชีพจากทีมก่อนนำส่งโรงพยาบาล
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ 1) มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพได้ ตัวชี้วัด - ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างถูกวิธีและปลอดภัย ผลลัพธ์ 2) เกิดกลไกการเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินในพื้นที่ ตัวชี้วัด - มีทีมเฝ้าระวังด้านการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน หมู่บ้านละ 1 ทีม ประกอบด้วย กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน/จนท.สาธารณสุข /อสม. - มีสถานที่สำหรับทีมเฝ้าระวังด้านการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน มีการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุฉุกเฉิน ผลลัพธ์ 3) ผู้ประสบเหตุฉุกเฉินได้รับการปฐมพยาบาลหรือช่วยเหลือฟื้นคืนชีพก่อนนำส่งโรงพยาบาล - ผู้ประสบเหตุฉุกเฉินร้อยละ 80 ได้รับการปฐมพยาบาลหรือช่วยเหลือฟื้นคืนชีพก่อนนำส่งโรงพยาบาล - ไม่มีผู้เสียชีวิตจากการช่วยเหลือของทีมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉิน
0.00

 

2 เพื่อลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากรถจักรยานยนต์
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้เสียชีวิตจากการใช้รถจักรยานยนต์
1.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ประชาชนตำบลปุโละปุโย 1

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นและมีทักษะการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพได้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย 2. เกิดทีมเฝ้าระวังด้านการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน 3. ผู้ประสบเหตุฉุกเฉิน ได้รับการปฐมพยาบาลหรือช่วยเหลือฟื้นคืนชีพจากทีมก่อนนำส่งโรงพยาบาล (2) เพื่อลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากรถจักรยานยนต์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ประชุมเจ้าหน้าที่รพ.สต.ปุโละปุโย ผู้ใหญ่บ้าน ประชาชนในพื้นที่ปุโละปุโยและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อสำรวจกลุ่มเป้าหมาย ชี้แจงโครงการและแต่งตั้งคณะกรรมการ (2) 2.สำรวจกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าอบรม (3) 3.จัดทำโครงการเสนอขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปุโละปุโย (4) 4.อบรมกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลปุโละปุโยแบ่งเป็น  5 รุ่น    จัดกิจกรรมอบรมและฝึกทักษะการช่วยชีวิตเบื้องต้นกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลปุโละปุโย    (รุ่นที่ 1 ) จำนวน 50 คน (5) จัดกิจกรรมอบรมและฝึกทักษะการช่วยชีวิตเบื้องต้นกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลปุโละปุโย(รุ่นที่ 2 ) จำนวน 50 คน (6) จัดกิจกรรมอบรมและฝึกทักษะการช่วยชีวิตเบื้องต้นกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลปุโละปุโย (รุ่นที่ 3 )จำนวน 50 คน (7) จัดกิจกรรมอบรมและฝึกทักษะการช่วยชีวิตเบื้องต้นกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลปุโละปุโย(รุ่นที่ 4 )จำนวน 50 คน (8) จัดกิจกรรมอบรมและฝึกทักษะการช่วยชีวิตเบื้องต้นกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลปุโละปุโย  (รุ่นที่ 5 )  จำนวน 50 คน (9) จัดซื้อจัดทำป้ายไวนิล วัสดุอุปกรณ์ ตลอดจนจัดเตรียมสถานที่สำหรับจัดกิจกรรม (10) ติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh