กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง


“ โครงการเด็ก ๐–๕ ปี โภชนาการดี นำสู่พัฒนาการสมวัย ปี ๒๕๖๗ ”

ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการเด็ก ๐–๕ ปี โภชนาการดี นำสู่พัฒนาการสมวัย ปี ๒๕๖๗

ที่อยู่ ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2484-1-04 เลขที่ข้อตกลง 04/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็ก ๐–๕ ปี โภชนาการดี นำสู่พัฒนาการสมวัย ปี ๒๕๖๗ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็ก ๐–๕ ปี โภชนาการดี นำสู่พัฒนาการสมวัย ปี ๒๕๖๗



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็ก ๐–๕ ปี โภชนาการดี นำสู่พัฒนาการสมวัย ปี ๒๕๖๗ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2484-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พัฒนาการของมนุษย์เป็นขบวนการที่เปลี่ยนแปลงพัฒนา เป็นขั้นตอนอย่างต่อเนื่องและมีรูปแบบ เฉพาะ กล่าวคือพัฒนาการจะเริ่มจากส่วนศีรษะไปส่วนขา ทารกจะเริ่มมีพัฒนาการตั้งแต่แรกเกิดเป็นต้นไป ซึ่งระยะแรกเกิด จะช่วยเหลือตนเองไม่ได้ จำเป็นต้องอาศัยบุคคลภายนอก โดยเฉพาะพ่อแม่ ให้การช่วยเหลือด้าน อาหาร ให้ความรักความอบอุ่น ดูแลเอาใจใส่ให้ทารกมีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอกด้านต่างๆ ซึ่งพัฒนาการแบ่งตามช่วงอายุ 5 ด้าน ดังนี้ พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหว ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและ สติปัญญา ด้านการเข้าใจภาษา ด้านการใช้ภาษา และด้านช่วยเหลือตัวเองและสังคม และยังพบปัจจัยว่า สภาพครอบครัว สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ทั้งที่เป็นบุคคลและสิ่งของ ฯลฯ มีส่วนช่วยเสริมสร้าง พัฒนาการให้แก่เด็กได้ นำประสบการณ์มาแก้ปัญหาต่างๆ ในชีวิตหรือเชาว์ปัญญาได้ และนอกจากนี้ ภาวะโภชนาการของเด็กก็เป็นสิ่งสำคัญควบคู่ไปกับพัฒนาการเด็ก การมีภาวะ โภชนาการที่ดีส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงชีวิตเด็ก โดยเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจ การวางแผน พื้นฐานให้เด็กสามารถพัฒนาศักยภาพตนเองได้อย่างเต็มที่ การขาดโภชนาการที่ดีกีดขวางการเจริญเติบโตของ เด็ก ส่งผลทำให้เด็กมีพัฒนาการช้าตามมา ดังนั้น การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและการกระตุ้นพัฒนาการเด็กตั้งแต่แรก จึงมีความสำคัญและ จำเป็นมากที่ผู้ใหญ่จะให้แก่เด็ก แต่ปัจจุบันสภาวะเศรษฐกิจสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงมาก สภาพครอบครัว การเลี้ยงดูเด็กก็เปลี่ยนแปลงไปเช่นกัน จากเดิมผู้เลี้ยงเป็น พ่อ แม่ ปู่ย่า ตา ยาย ซึ่งมีสายสัมพันธ์กับเด็ก เลี้ยงเด็กด้วยความรักและผูกพันอยู่กับบ้าน กลายเป็นการนำเด็กไปฝากเลี้ยง ตามสถานเลี้ยงเด็กต่าง ๆ ใน ตอนเช้าและรับกลับตอนเย็น หากเป็นเช่นนี้ระยะที่พ่อ แม่ลูก ได้พบกันเป็นช่วงเวลาที่ต่างคนต่างเหน็ด เหนื่อย จึงทำให้พ่อ แม่ ขาดโอกาสในการกระตุ้นพัฒนาการลูกรัก โดยเฉพาะครอบครัวที่ไม่เห็นความสำคัญด้านนี้ อนึ่งกาลเวลาอายุของเด็ก ไม่สามารถจะหวนกลับมาอีกได้ โดยเฉพาะระยะเวลาแรกเกิดถึง 5 ปี ซึ่งเป็นช่วงวัยทองของพัฒนาการเด็ก และจำเป็นต้องส่งเสริมเด็กให้มีภาวะโภชนาการปกติและมีพัฒนาการ สมวัย จากความสำคัญและจำเป็นดังกล่าว รพ.สต.บ้านคลองน้ำใส จึงได้จัดทำโครงการเด็ก 0-5 ปีโภชนาการดี นำสู่พัฒนาการสมวัย ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ เพื่อส่งเสริมให้เด็ก 0-5 ปีภาวะโภชนาการปกติและมีพัฒนาการสมวัยทั้ง 5 ด้าน เฝ้าระวังและตรวจประเมิน ภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็ก 0- 5 ปี ในพื้นที่ ติดตาม กระตุ้น และประเมินภาวะโภชนาการและ พัฒนาการซ้ำทุก 1 เดือน ในเด็กที่มีภาวะโภชนาการผิดปกติให้มีภาวะโภชนาการปกติและเด็กที่มีพัฒนาการ ช้าให้มีพัฒนาการสมวัย รวมถึงเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองของเด็ก อสม. ประชาชน มีความรู้ในการส่งเสริมและประเมินภาวะโภชนาการ และพัฒนาการเด็ก 0-5 ปีได้อย่างถูกต้อง จะส่งผลให้เด็กมีภาวะโภชนาการปกติและมีพัฒนาการสมวัย รวมถึงการมีสุขภาพดี เติบโตเป็นกำลังสำคัญเพื่อพัฒนาชุมชน สังคม และประเทศชาติต่อไปปีงบประมาณ ๒๕๖๗มีเด็กจำนวน ๓๗๔ คน ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกงู จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพเด็ก ๐ – ๕ ปี เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ๐ – ๕ปี พ่อแม่ผู้ปกครองควรมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเด็ก ให้มีพัฒนาการสมวัย สูงดีสมส่วน เติบโตเป็นบุคคลที่มีคุณภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างองค์คาวมรู้ให้กับผู้ปกครองเกี่ยวกับโภชนาการเด็ก0– ๕ ปี
  2. เพื่อเฝ้าระวังติดตามทางโภชนาการในเด็ก ๐– ๕ ปี ที่เสียงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ
  3. เพื่อให้เด็ก ๐ – ๕ ปี ที่พัฒนาการ ทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก เด็ก ๐ – ๕ ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ให้เด็ก ๐ – ๕ ปี ได้รับการส่งเสริมให้ภาวะโภชนาการและมีพัฒนาการสมวัยทั้ง ๕ ด้าน และการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย คิดเป็น ร้อยละ ๘๐
๒. ให้เด็ก ๐ – ๕ ปี ได้รับการเฝ้าระวังและตรวจภาวะโภชนาการและพัฒนาการคิดเป็น ร้อยละ ๘๐ ๓. เด็กที่มีภาวะโภชนาการผิดปกติและเด็กที่มีพัฒนาการได้รับการติดตาม กระตุ้น และประเมิน ภาวะโภชนาการและตรวจพัฒนาการซ้ำให้มีภาวะโภชนาการปกติและมีพัฒนาการสมวัยคิดเป็น ร้อยละ ๘๐ ๔. ผู้ปกครอง มีความรู้ ในการส่งเสริมและประเมินภาวะโภชนาการ และพัฒนาการเด็ก๐– ๕ ปี ได้อย่างถูกต้องคิดเป็น ร้อยละ ๘๐ ๕. ผู้ปกครอง อสม.. ประชาชน มีส่วนร่วมในการส่งเสริมภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็ก ๐– ๕ ปี คิดเป็น ร้อยละ ๘๐


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างองค์คาวมรู้ให้กับผู้ปกครองเกี่ยวกับโภชนาการเด็ก0– ๕ ปี
ตัวชี้วัด : ๑.ผู้ปกครอง และผู้ดูแลเด็ก ที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มีความตระหนักในเรื่องโภชนาการเด็กได้คิดเป็น ร้อยละ ๘๐
0.00

 

2 เพื่อเฝ้าระวังติดตามทางโภชนาการในเด็ก ๐– ๕ ปี ที่เสียงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : ๒.เด็ก ๐ – ๕ ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคมคิดเป็น ร้อยละ ๘๐
0.00

 

3 เพื่อให้เด็ก ๐ – ๕ ปี ที่พัฒนาการ ทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
ตัวชี้วัด : 3.เด็ก ๐ – ๕ ปีโภชนาการตามเกณฑ์และพฤติกรรมสุขภาพ ที่เหมาะสมตามวัยคิดเป็น ร้อยละ ๘๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างองค์คาวมรู้ให้กับผู้ปกครองเกี่ยวกับโภชนาการเด็ก0– ๕ ปี (2) เพื่อเฝ้าระวังติดตามทางโภชนาการในเด็ก ๐– ๕ ปี ที่เสียงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ (3) เพื่อให้เด็ก ๐ – ๕ ปี ที่พัฒนาการ ทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก เด็ก ๐ – ๕ ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็ก ๐–๕ ปี โภชนาการดี นำสู่พัฒนาการสมวัย ปี ๒๕๖๗ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2484-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด