กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพเยาวชน
รหัสโครงการ 67-L3002-02-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สภาเด็กและเยาวชนตำบลตรัง
วันที่อนุมัติ 25 ธันวาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 มกราคม 2567 - 16 มกราคม 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 31 มกราคม 2567
งบประมาณ 30,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวอามีรา สือแต
พี่เลี้ยงโครงการ -
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตรัง อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.693,101.375place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ม.ค. 2567 16 ม.ค. 2567 30,000.00
รวมงบประมาณ 30,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาด้านสุขภาพของเยาวชนในชุมชน เป็นปัญหาหนึ่งที่ต้องได้รับการแก้ไข ถึงแม้ว่ารัฐบาลจะมีนโยบายจัดทำบัตรสุขภาพถ้วนหน้า แต่สำหรับเยาวชนส่วนใหญ่มักจะดูแลหรือใส่ใจสุขภาพของเยาวชน จึงมีความจำเป็นยิ่งที่จะต้องสร้างเยาวชนคนรุ่นใหม่ในชุมชน ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการรณรงค์ป้องกันปัญหาสุขภาพของเยาวชนในชุมชนด้วยกันอย่างเป็นระบบ ต่อเนื่องและยั่งยืนด้วยบุคลากรชุมชนเอง โดยใช้รูปแบบของกิจกรรมนั้น นำไปสู่การพึ่งพาตนเองในการดูแลสุขภาพและส่งเสริมให้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาทักษะของเยาวชนในการสร้างสุขภาพและการรณรงค์เผยแพร่ข้อมูลด้านสุขภาพแก่เด็ก เยาวชนและชุมชน

ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมการอบรมสามารถรณรงค์เผยแพร่ข้อมูลด้านสุขภาพแก่เด็ก เยาวชน และชุมชนได้

100.00
2 ให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการให้เหมาะสมกับช่วงวัย

ร้อยละ 80 ของเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการให้เหมาะสมกับช่วงวัย

100.00
3 เพื่อให้เยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในสุขภาพตนเองและสร้างความภาคภูมิใจในตนเอง

ร้อยละ 80 ของเยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในสุขภาพตนเองและสร้างความภาคภูมิใจในตนเอง

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณม.ค. 67
1 จัดอบรมให้ความรู้แก่เยาวชนในการพัฒนาตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น,การดูแลสุขภาพให้เหมาะสมตามช่วงวัย และการเสริมสร้างพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการ(15 ม.ค. 2567-15 ม.ค. 2567) 30,000.00  
2 จัดนิทรรศการให้ความรู้การดูแลสุขภาพ(16 ม.ค. 2567-16 ม.ค. 2567) 0.00  
รวม 30,000.00
1 จัดอบรมให้ความรู้แก่เยาวชนในการพัฒนาตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น,การดูแลสุขภาพให้เหมาะสมตามช่วงวัย และการเสริมสร้างพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 200 30,000.00 0 0.00
15 ม.ค. 67 อบรมให้ความรู้ 200 30,000.00 -
2 จัดนิทรรศการให้ความรู้การดูแลสุขภาพ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 200 0.00 0 0.00
16 ม.ค. 67 จัดนิทรรศการให้ความรู้การดูแลสุขภาพ 200 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ทำให้เยาวชนมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพและสามารถรณรงค์เผยแพร่ข้อมูลด้านสุขภาพแก่เด็ก เยาวชนและชุมชน
  2. เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง
  3. เยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในสุขภาพของตนเองและสร้างความภาคภูมิใจ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 ม.ค. 2567 15:15 น.