กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและเฝ้าระวังผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุก ชุมชนบ้านคลองเตย 3
รหัสโครงการ 67-L7257-2-30
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนบ้านคลองเตย 3
วันที่อนุมัติ 23 กุมภาพันธ์ 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2567 - 15 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 21,840.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาววรัญญา แซ่อ๋อง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2567 15 ก.ย. 2567 21,840.00
รวมงบประมาณ 21,840.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 55 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
0.00
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
0.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเกิดโรคเรื้อรังในประชาชน เช่น การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง หวานจัด เค็มจัด หรืออาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ ขาดการออกกำลังกายที่ถูกต้อง การอาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เป็นพิษ การทำงานหนัก อายุเพิ่มขึ้น เพศที่แตกต่างกัน อาชีพที่แตกต่างกัน ล้วนเป็นสิ่งที่เป็นเหตุหรือปัจจัยเสริมที่จะทำให้เกิดโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อได้ เช่น โรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง โรคปอด หรือมะเร็งปอด โรคหลอดเลือดหัวใจ จึงเป็นปัญหาสุขภาพที่ต่อเนื่องมาโดยตลอด เมื่อประชาชนกลุ่มเสี่ยงเหล่านั้นได้รับการสร้างเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคให้ลดลงหรือหมดไป ห็จะสามารถลอโอกาสการเป็นโรคดังกล่าวได้เป็นอย่างดี ซึ่งการเปลี่ยนพฤติกรรมจึงนับเป็นการป้องกันเเละเฝ้าระวังการเกิดโรค ที่ผลคุ้มค่าต่อสุขภาพในระยะยาวนาน เนื่องจากเมื่อป่วยเป็นโรคแล้วต้องได้รับการรักษาพยาบาล ต้องมีค่าใช้จ่ายอีก และเสียเวลา หรือเมื่อได้รับการรักษาช้า โรคแทรกซ้อนก็จะตามมา และที่สำคัญร่างกายของเราอาจไม่สามารถกลับมาเหมือนปกติได้ การจัดทำแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรค ไม่ว่าจะเป็นจากพฤติกรรมหรือรูปแบบการดำเนินชีวิตที่ส่งเสริมการเป็นโรค ป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ ป้องกันการเกิดปัจจัยชีวภาพ ล้วนเป็นสิ่งที่ต้องให้ความสำคัญ เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้จริง อันจะนำไปสู่การที่ประชาชนมีสุขภาพที่ดี่ ซึ่งเป็นสิ่งที่ทุกคนคปราถนา

ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนบ้านคลองเตย 3 จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและเฝ้าระวังผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุกชุมชนบ้านคลองเตย 3 ขึ้น โดยในความคาดหวังจะเป็นประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนในชุมชนบ้านคลองเตย 3 ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง หรือไม่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละ 80 ของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง

0.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละ 80 ประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง

0.00
3 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วยเบาหวานในการควบคุมระดับดับน้ำตาลในเลือด

ร้อยละ 50 ของผู้ป่วยโรคเบาหวานมีระดับดับน้ำตาลในเลือดลดลง

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 21,840.00 0 0.00
??/??/???? กิจกรรมประชุมคณะทำงานในการดำเนินงาน 0 385.00 -
??/??/???? กิจกรรมจัดซื้อวัสดุ-ครุภัณฑ์ในโครงการ 0 11,340.00 -
??/??/???? กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องอาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์ ไม่สูบบุหรี่ ไม่ดื่มสุรา (3 อ. 2 ส) 0 4,110.00 -
??/??/???? กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 0 2,310.00 -
??/??/???? กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 2 0 2,310.00 -
??/??/???? กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานโครงการ 0 1,385.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามและฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  2. ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  3. ประชากรกลุ่มเสียงนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้และเผยแพร่ในครอบครัวและชุมชนได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 ม.ค. 2567 22:13 น.