กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาและส่งเสริมพฤติกรรมทางเพศที่พึงประสงค์ของวัยรุ่นในสถานศึกษาตำบลมะนังดาลำ
รหัสโครงการ ๖๗ - L3059 - ๑ - ๔
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.มะนังดาลำ
วันที่อนุมัติ 23 พฤศจิกายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 14 กุมภาพันธ์ 2567 - 14 กุมภาพันธ์ 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 29 มีนาคม 2567
งบประมาณ 15,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ อับดุลการิม กะมะ ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.มะนังดาลำ
พี่เลี้ยงโครงการ อัสมิน ฮายีนิเงาะ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลมะนังดาลำ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.649,101.599place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 14 ก.พ. 2567 14 ก.พ. 2567 15,000.00
รวมงบประมาณ 15,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 76 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

วัยรุ่นเป็นวัยแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งทางร่างกาย อารมณ์ สังคมและพฤติกรรมเป็นช่วงรอยต่อของความเป็นเด็กกับความเป็นผู้ใหญ่ เป็นวัยรุ่นและเยาวชนอายุ 10 - 24 ปี เป็นกลุ่มวัยที่ต้องได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ แต่ด้วยอิทธิพลของเทคโนโลยี เศรษฐกิจ และสังคม ทำให้สถานการณ์และแนวโน้มของปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ทวีความรุนแรงและความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น รวมไปถึงปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ วัยรุ่นมีแนวโน้มในการเริ่มมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกเร็วขึ้น โดยอายุเฉลี่ยของวัยรุ่นที่มีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก เท่ากับ 15 – 16 ปี มารดาอายุ 10 – 19 ปี มีอัตราการคลอดบุตรเพิ่มขึ้น ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ และการแพร่ระบาดของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นได้ และมาตรการที่จะหยุดยั้งปัญหาดังกล่าวในกลุ่มเยาวชนได้อย่างแท้จริงและมีความยั่งยืนประการหนึ่ง คือ การสร้างภูมิคุ้มกันให้กับ วัยรุ่นโดยการสร้างความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่จะปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ที่เป็นพฤติกรรมเสี่ยง และหากไม่สามารถหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงได้ วัยรุ่นต้องมีความตระหนักถึงการมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยต่อตนเองและสังคมด้วย และถ้ามีปัญหาถึงขั้นตังครรภ์เกิดขึ้น วัยรุ่นจะต้องได้รับการดูแลจากหน่วยงานจากภาครัฐอย่างเป็นระบบ ดังนั้น อบต.มะนังดาลำ ได้ตระหนักถึงปัญหาการมีพฤติกรรมเสี่ยงจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และการระบาดของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นซึ่งเป็นกลุ่มประชากรที่เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ  รวมไปถึงเพื่อสร้างความเข้มแข็งในการดำเนินงานป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น จึงได้จัดโครงการพัฒนาและส่งเสริมพฤติกรรมทางเพศที่พึงประสงค์ของวัยรุ่นในตำบลมะนังดาลำ ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณ
1 ใหัความรู้(16 ม.ค. 2567-16 ม.ค. 2567) 15,000.00
รวม 15,000.00
1 ใหัความรู้ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 76 15,000.00 0 0.00
16 ม.ค. 67 ให้ความรู้การพัฒนาและส่งเสริมพฤติกรรมทางเพศที่พึงประสงค์ของวัยรุ่นในสถานศึกษา 76 15,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. วัยรุ่นในสถานศึกษาเป้าหมายสามารถนำความรู้ ความเข้าใจเรื่องเพศไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างถูกต้องและเหมาะสม
  2. วัยรุ่นในสถานศึกษาเป้าหมายมีทักษะและพฤติกรรมทางเพศที่พึงประสงค์ในการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 ม.ค. 2567 10:28 น.