กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางสาวซีตีลานี ยาประจัน




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5310-2-02 เลขที่ข้อตกลง 03/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

ปัจจุบันสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมเป็นอย่างมาก อันเป็นผลพวงมากเชื่อมโยงเข้ากับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เกิดขึ้น การพัฒนาตามแนวคิดการพัฒนากจากการพัฒนาประเทศและการดิ้นรนต่อสู้ของประชาชน เพื่อการดำรงชีวิต สถาบันครอบครัวไทยเป็นส่วนหนึ่งความสำคัญกับกรสร้างความมั่งคั่งร่ำรวย หรือความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เน้นการพัฒนาแบบแตกแยกส่วนหนึ่งทำให้เกิดกระบวนการดึงคนออกมาจากครอบครัว แยกพ่อแม่ลูกหลาน ปู่ย่าซึ่งผลของการพัฒนานั้นแม้จะทำให้ครอบครัวที่เคยแนบแน่นและอบอุ่นก็เริ่มเลือนหายไป เปลี่ยนแปลงเป็นตายาย ออกจากกันความสัมพันธ์ที่ไม่แนบแน่นดังก่อน ความผูกพันธุ์กันในเชิงอารมณ์และความรู้สึกมีค่อนข้างน้อยคนในครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกันน้อยลง พ่อแม่มีหน้าที่แสวงหาทรัพย์สินเงินทอง และวัตถุประสงค์เพื่อเลี้ยงดูปรนเปรอความสุขให้ลูกส่วนลูกซึ่งต้องทำหน้าที่เรียนหนังสือก็ถูกวัฒนธรรมต่างชาติและอบายมุขชักจูงไปในทางที่เสื่อมเสีย การเติบโตเป็นผู้ใหญ่เป็นไปตามยถากรรมเด็กๆเรียนรู้ชีวิตด้วยตนเองจากสังคมนอกบ้านมากกว่าสังคมในบ้าน สถาบันครอบครัวเป็นพื้นฐานหลักของสังคม เป็นรากฐานของการพัฒนาคน พัฒนาสังคม โดยหล่อหลอมขัดเกลาความเป็นมนุษย์ให้แก่สมาชิกในครอบครัวด้วยการเลี้ยงดูปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมและถ่ายทอดวัฒนธรรมอันดีงามให้แก่สมาชิกในครอบครัวเพื่อให้เติบโตเป็นบุคคลที่มีคุณภาพนำไปสู่การพัฒนาสังคมแต่ในยุคปัจจุบันสังคมไทยและคนในสังคมต้องเผชิญกับวิกฤตความเปลี่ยนแปลงในการดำเนินชีวิตมากมาย ทั้งเรื่องวัตถุนิยม ค่านิยมและให้ความสำคัญกับเงินตราวัตถุมากกว่าความรู้สึกของสมาชิกในครอบครัว สังคม เหล่านี้ล้วนมีผลกระทบต่อครอบครัว สังคม สถาบันครอบครัวเริ่มอ่อนแอลงเรื่อยๆ ประชาชนจะมีความเปราะบางขาดภูมิคุ้มกันในการใช้ชีวิตเมื่อเจอกับปัญหาต่างๆไม่สามารถแก้ปัญหาได้จึงหันไปพึ่งยาเสพติดฆ่าตัวตาย ทำร้ายตัวเอง ทำร้ายผู้อื่น ฯลฯ ตามที่เป็นข่าวอยู่มากมายดังนั้น กลุ่มอสม.ตำบลเขาขาว จึงได้จัดทำโครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ตำบลเขาขาวขึ้น เพื่อเป็นการลดปัญหาช่องว่างและสร้างภูมิคุ้มกันให้เกิดขึ้นกับสมาชิกในครอบครัวจากความรักความเข้าใจฟังความคิดเห็นของกันและกันนำไปสู่การพัฒนาสังคมที่เข้มแข็งและมีความสุขต่อไป

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรค NCDs หรือ non-communicable diseases หรือที่เรามักเรียกว่า “โรคที่เราสร้างขึ้นมาเอง” เป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ไม่ได้เกิดจากเชื้อโรค แต่เกิดจากนิสัยหรือพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของเรา โดยจะมีการ สะสมอาการอย่างช้าๆ และต่อเนื่อง หากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง จะยิ่งทำให้เกิดการเรื้อรังของโรคตามมา ซึ่งเป็นผลเสียต่อตัวผู้ป่วยและคนรอบข้าง ในแต่ละปี จากทั่วโลกพบว่ามีคนเสียชีวิตด้วยกลุ่มโรค NCDs มากถึง 74% หรือชั่วโมงละ 37 คน โดยมักเป็นผู้ป่วยในช่วงวัยทำงาน ที่ใช้ชีวิตไม่ถูกต้อง มีพฤติกรรมเสี่ยงที่นำไปสู่การเกิดโรค เช่น ไม่ออกกำลังกาย ทานอาหารรสจัดเกินไป ทานอาหารไขมันสูง เครียดสะสม ดื่มสุรา สูบบุหรี่ ทานอาหารประเภทปิ้งย่างบ่อยเกินไป เป็นต้นโรคในกลุ่ม NCDs ที่มีอัตราผู้ป่วยและเสียชีวิตสูงสุด7 โรค ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ โรคถุงลมโป่งพอง โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง และโรคอ้วนลงพุงการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมเสี่ยงที่สำคัญ เช่น การบริโภคยาสูบ การดื่มแอลกอฮอล์ การบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม การมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ การส่งเสริมมาตรการ 3 อ 2 ส (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ เลิกยาสูบ เลิกสุรา) ในกลุ่มเสี่ยงต่อโรค NCDs รวมถึงประชาชนวัยทำงาน จะช่วยลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs โดยเฉพาะเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจและหลอดเลือด ได้ ทั้งนี้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปมีความเสี่ยงมากกว่ากลุ่มที่อายุน้อย ในพื้นที่ ตำบลเขาขาว มีประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 3004 คน มีกลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาสเป็นโรคและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 870 , 1790 คน เพื่อลดการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จึงจัดทำโครงการ พัฒนาศักยภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังเพื่อ ปรับพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ เลิกยาสูบ เลิกสุรา)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีศักยภาพในการดูแลตนเองตามหลัก 3 อ. 2 ส.

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน และ พัฒนาศักยภาพแกนนำกลุ่มเสี่ยง
  2. พัฒนาศักยภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง 3อ.2ส. อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์
  3. พัฒนาศักยภาพแกนนำกลุ่มเสี่ยง ด้านการออกกำลังกาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กลุ่มเสี่ยง สามารถปฏิบัติตนตามหลัก 3 อ. 2 ส. (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ เลิกยาสูบ เลิกสุรา) ลดการเป็นผู้ป่วยรายใหม่กลุ่มโรค NCDs


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงาน และ พัฒนาศักยภาพแกนนำกลุ่มเสี่ยง

วันที่ 1 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ป้ายโครงการ 1 ป้าย (ขนาด 1.2 x 2.78 ม.) เป็นเงิน 500 บาท
  • ค่าอาหารว่าง 2 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 20 คน เป็นเงิน 1000 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ มื้อละ 75 บาท จำนวน 20 คน เป็นเงิน 1500 บาท
  • ค่าวิทยากร 5 ชั่วโมงๆละ 600 บาทเป็นเงิน 3,000 บาท
  • เครื่องวัดความดัน 2 เครื่องๆละ 2,500 เป็นเงิน 5,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ประชุมคณะทำงานและ พัฒนาศักยภาพแกนนำกลุ่มเสี่ยงให้สามารถปฏิบัติตนตามหลัก 3อ. 2 ส. ลดการเป็นผู้ป่วยรายใหม่โรคเรื้อรัง NCDs

 

0 0

2. พัฒนาศักยภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง 3อ.2ส. อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์

วันที่ 1 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • อาหารว่างและเครื่องดื่ม 1 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 70 คน เป็นเงิน 1,750 บาท

  • ค่าวิทยากรวันละ 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้พัฒนาศักยภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง 3อ.2ส. อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์

 

0 0

3. พัฒนาศักยภาพแกนนำกลุ่มเสี่ยง ด้านการออกกำลังกาย

วันที่ 1 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • อาหารว่างและเครื่องดื่ม 1 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 20 คน เป็นเงิน 500 บาท
  • ค่าวิทยากรวันละ 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้พัฒนาศักยภาพแกนนำกลุ่มเสี่ยง ด้านการออกกำลังกาย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีศักยภาพในการดูแลตนเองตามหลัก 3 อ. 2 ส.
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

ปัจจุบันสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมเป็นอย่างมาก อันเป็นผลพวงมากเชื่อมโยงเข้ากับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เกิดขึ้น การพัฒนาตามแนวคิดการพัฒนากจากการพัฒนาประเทศและการดิ้นรนต่อสู้ของประชาชน เพื่อการดำรงชีวิต สถาบันครอบครัวไทยเป็นส่วนหนึ่งความสำคัญกับกรสร้างความมั่งคั่งร่ำรวย หรือความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เน้นการพัฒนาแบบแตกแยกส่วนหนึ่งทำให้เกิดกระบวนการดึงคนออกมาจากครอบครัว แยกพ่อแม่ลูกหลาน ปู่ย่าซึ่งผลของการพัฒนานั้นแม้จะทำให้ครอบครัวที่เคยแนบแน่นและอบอุ่นก็เริ่มเลือนหายไป เปลี่ยนแปลงเป็นตายาย ออกจากกันความสัมพันธ์ที่ไม่แนบแน่นดังก่อน ความผูกพันธุ์กันในเชิงอารมณ์และความรู้สึกมีค่อนข้างน้อยคนในครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกันน้อยลง พ่อแม่มีหน้าที่แสวงหาทรัพย์สินเงินทอง และวัตถุประสงค์เพื่อเลี้ยงดูปรนเปรอความสุขให้ลูกส่วนลูกซึ่งต้องทำหน้าที่เรียนหนังสือก็ถูกวัฒนธรรมต่างชาติและอบายมุขชักจูงไปในทางที่เสื่อมเสีย การเติบโตเป็นผู้ใหญ่เป็นไปตามยถากรรมเด็กๆเรียนรู้ชีวิตด้วยตนเองจากสังคมนอกบ้านมากกว่าสังคมในบ้าน สถาบันครอบครัวเป็นพื้นฐานหลักของสังคม เป็นรากฐานของการพัฒนาคน พัฒนาสังคม โดยหล่อหลอมขัดเกลาความเป็นมนุษย์ให้แก่สมาชิกในครอบครัวด้วยการเลี้ยงดูปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมและถ่ายทอดวัฒนธรรมอันดีงามให้แก่สมาชิกในครอบครัวเพื่อให้เติบโตเป็นบุคคลที่มีคุณภาพนำไปสู่การพัฒนาสังคมแต่ในยุคปัจจุบันสังคมไทยและคนในสังคมต้องเผชิญกับวิกฤตความเปลี่ยนแปลงในการดำเนินชีวิตมากมาย ทั้งเรื่องวัตถุนิยม ค่านิยมและให้ความสำคัญกับเงินตราวัตถุมากกว่าความรู้สึกของสมาชิกในครอบครัว สังคม เหล่านี้ล้วนมีผลกระทบต่อครอบครัว สังคม สถาบันครอบครัวเริ่มอ่อนแอลงเรื่อยๆ ประชาชนจะมีความเปราะบางขาดภูมิคุ้มกันในการใช้ชีวิตเมื่อเจอกับปัญหาต่างๆไม่สามารถแก้ปัญหาได้จึงหันไปพึ่งยาเสพติดฆ่าตัวตาย ทำร้ายตัวเอง ทำร้ายผู้อื่น ฯลฯ ตามที่เป็นข่าวอยู่มากมายดังนั้น กลุ่มอสม.ตำบลเขาขาว จึงได้จัดทำโครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ตำบลเขาขาวขึ้น เพื่อเป็นการลดปัญหาช่องว่างและสร้างภูมิคุ้มกันให้เกิดขึ้นกับสมาชิกในครอบครัวจากความรักความเข้าใจฟังความคิดเห็นของกันและกันนำไปสู่การพัฒนาสังคมที่เข้มแข็งและมีความสุขต่อไป

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5310-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวซีตีลานี ยาประจัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด