กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน


“ โครงการออกกำลังกายวันละนิดจิตแจ่มใสหมู่ที่ 3 บ้านหาดเลา ”

ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางเตือนใจ ฤทธิ์หมุน ตำแหน่ง ประธานอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 3

ชื่อโครงการ โครงการออกกำลังกายวันละนิดจิตแจ่มใสหมู่ที่ 3 บ้านหาดเลา

ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1485-2-03 เลขที่ข้อตกลง 2/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มกราคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการออกกำลังกายวันละนิดจิตแจ่มใสหมู่ที่ 3 บ้านหาดเลา จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการออกกำลังกายวันละนิดจิตแจ่มใสหมู่ที่ 3 บ้านหาดเลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการออกกำลังกายวันละนิดจิตแจ่มใสหมู่ที่ 3 บ้านหาดเลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1485-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 มกราคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันจะเห็นได้ว่าโครงสร้างประชากรไทยอยู่ในระยะที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยประชาชนทั่วไป มีจำนวนและสัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในปัจจุบันส่งผลกระทบต่ออัตราส่วนภาระพึ่งพิงของประชากร ซึ่งเป็นเครื่องชี้วัดถึงความได้เปรียบทางประชากรในการพัฒนาประเทศ ขณะเดียวกันประชาชนทั่วไปปัญหาด้านสุขภาพ โรคภัยไข้เจ็บ และทุพพลภาพเพิ่มมากขึ้น จึงส่งผลกระทบต่อการเพิ่มของความต้องการค่าใช้จ่ายด้านการดูแลรักษาพยาบาลดังนั้นเมื่อจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นในอนาคตจะเป็นภาระสำคัญสำหรับรัฐบาลในการหามาตรการรองรับด้านการรักษาพยาบาล การมีนโยบายสุขภาพเชิงรุกสำหรับผู้สูงอายุ ย่อมทำให้ประชากรสูงอายุมีศักยภาพ สุขภาพ และปัญญาความรู้เพิ่มขึ้นที่จะส่งเสริมเศรษฐกิจของประเทศและป้องกันการเจ็บป่วย พิการ ทุพพลภาพ ตลอดจนการลดค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาสุขภาพทั้งในปัจจุบันและในอนาคตจากการสำรวจบัญชีสาธารณสุข
เนื่องด้วย หมู่ที่ 3 บ้านหาด มีประชาชนทั่วไปเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเส้นเลือดสูงเพิ่มขึ้น ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่มีลักษณะความเป็นสังคมเมือง ประชาชนไม่ค่อยได้ดูแลสุขภาพตนเอง กับปัญหาหลายๆด้าน เช่น ประชาชนทั่วไปขาดความรู้ด้านสุขภาพ และ การออกกำลังกาย ทำให้เจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเส้นเลือดสูงเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้หากประชาชนทั่วไปมีความรู้ในการดูแลสุขภาพก็จะสามารถดำเนินชีวิตได้ อย่างมีความสุข เกิดความพึงพอใจในชีวิต แต่ถ้าไม่พร้อมหรือปรับตัวได้ไม่ดี จะส่งผลให้เกิดภาวะเสี่ยงต่อโรคต่างๆ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 3 บ้านหาดเลา จึงได้จัดทำโครงการออกกำลังกายวันละนิดจิตแจ่มใส โดยการเต้นแอโรบิค ยึดหลัก 3อ. 2ส. อ.1 คือ การออกกำลังกาย อ.2 อาหาร อ.3 อารมร์ ส.1 คือ ไม่สูบบุหรี่ ส2. ไม่ดื่มสุรา เพื่อให้ประชาชนทั่วไปได้หันมาดูแลสุขภาพ เพื่อจะได้ห่างไกลจากโรคร้ายต่างๆ มีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตห่างไกลจากโรคร้ายต่างๆ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีใช้ชีวิตอย่างมีความสุข โดยกลุ่มเป้าหมายเป็นประชาชนทั่วไปในหมู่บ้าน และหมู่บ้านใกล้เคียง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการออกกำลังกายที่ถูกวิธี
  2. 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีสุขภาพที่ดี ทั้งร่างกายและจิตใจ ลดความเสี่ยงจากการเกิดโรคต่างๆได้
  3. 3. เพื่อเสริมสร้างให้พี่น้องประชาชนในชุมชน ได้ตระหนักเห็นความสำคัญและให้การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น
  4. 4.เพื่อเพิ่มศักยภาพให้เกิดผู้นำออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิคเพิ่มขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 40
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ร้อยละ 90 ของสมาชิก และประชาชนทั่วไปมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพและการ
              ออกกำลังกาย
    2. ร้อยละ 100 ของสมาชิกและประชาชนทั่วไปมีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจ ลดความเสี่ยงจาก
              การเกิดโรคต่างๆได้
    3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมตระหนักและเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพโดย การออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น   4.สมาชิกสามารถเป็นแกนนำออกกำลังกายโดยการเต้นแอโรบิคได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการออกกำลังกายที่ถูกวิธี
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีสุขภาพที่ดี ทั้งร่างกายและจิตใจ ลดความเสี่ยงจากการเกิดโรคต่างๆได้
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อเสริมสร้างให้พี่น้องประชาชนในชุมชน ได้ตระหนักเห็นความสำคัญและให้การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4.เพื่อเพิ่มศักยภาพให้เกิดผู้นำออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิคเพิ่มขึ้น
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 40
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการออกกำลังกายที่ถูกวิธี (2) 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีสุขภาพที่ดี ทั้งร่างกายและจิตใจ ลดความเสี่ยงจากการเกิดโรคต่างๆได้ (3) 3. เพื่อเสริมสร้างให้พี่น้องประชาชนในชุมชน ได้ตระหนักเห็นความสำคัญและให้การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น (4) 4.เพื่อเพิ่มศักยภาพให้เกิดผู้นำออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิคเพิ่มขึ้น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการออกกำลังกายวันละนิดจิตแจ่มใสหมู่ที่ 3 บ้านหาดเลา จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 67-L1485-2-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางเตือนใจ ฤทธิ์หมุน ตำแหน่ง ประธานอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 3 )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด