กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง


“ โครงการส่งเสริมการเเปรงฟันในโรงเรียนสตูลศานติศึกษา ”

โโรงเรียนสตูลศานติศึกษา

หัวหน้าโครงการ
นายอดุลย์ มะมิง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการเเปรงฟันในโรงเรียนสตูลศานติศึกษา

ที่อยู่ โโรงเรียนสตูลศานติศึกษา จังหวัด

รหัสโครงการ 2567-L8010-2-05 เลขที่ข้อตกลง 08/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการเเปรงฟันในโรงเรียนสตูลศานติศึกษา จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โโรงเรียนสตูลศานติศึกษา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการเเปรงฟันในโรงเรียนสตูลศานติศึกษา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการเเปรงฟันในโรงเรียนสตูลศานติศึกษา " ดำเนินการในพื้นที่ โโรงเรียนสตูลศานติศึกษา รหัสโครงการ 2567-L8010-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคฟันผุเป็นปัญหาที่เด่นชัดในกลุ่มประเทศพัฒนาน้อยและกำลังพัฒนา เมื่อไม่ได้รับการดูแลรักษาอย่างทันท่วงที โรคจะลุกลามและสูญเสียฟันในที่สุด ส่งผลต่อพัฒนาการ สุขภาพ การสบฟัน และการเรียน ประเทศไทยเฉลี่ยเด็กอายุ ๑๒ ปี และ ๑๕ ปี ปวดฟันจนขาดเรียน ในขณะที่วัยผู้ใหญ่มีปัญหาเรื่องฟันผุและ ปริทันต์อักเสบ รวมทั้งความเสื่อมถอยจากการมีอายุยืน เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินชีวิตประจำวันและการงานอาชีพ ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้สูงวัยแม้จะมีระบบประกันสุขภาพภาครัฐ แต่ยังมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการเข้าถึงบริการทั้งจากการจัดบริการและด้านประชาชน นอกจากนี้ในทัศนะของสังคมไทยรวมทั้งทันตบุคลากรและบุคลากรสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ค่าบริการรักษาโรคในช่องปากและการฟื้นฟูสภาพยังมีราคาแพง เป็นอุปสรรคสำหรับการใช้บริการภาคเอกชนเมื่อภาครัฐไม่สามารถตอบสนองความต้องการได้ ด้วยความเจริญทางด้านเทคโนโลยีความทันสมัยทำให้ผู้เรียนในยุคนี้เป็นผู้เรียนที่ติดกับการบริโภคนิยมทั้งทางด้านวัตถุ สิ่งของ อาหารผู้เรียนส่วนมากมักบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์เช่นขนมขบเคี้ยว ทอฟฟี่ ช็อคโกแลต ขนมหวานต่าง ๆ การที่ผู้เรียนทานอาหารเหล่านี้เข้าไปจะทำให้ผู้เรียนมีปัญหาเรื่องฟันผุ ซึ่งปัญหานี้มักเกิดขึ้นกับเด็กช่วงประถมเป็นส่วนมาก การที่จะปลูกฝังให้ผู้เรียนรักการแปรงฟันนั้นจึงเป็นสิ่งจำเป็น สิ่งที่จะช่วยให้ปัญหาฟันผุลดน้อยลง การที่เด็กจะปฏิบัติได้อย่างสม่ำเสมอนั้นต้องมีแรงจูงใจ หรือการกระทำร่วมกันเป็นกลุ่ม จากการตรวจสุขภาพช่องปากนักเรียนในโรงเรียนสตูลศานติศึกษาพบว่านักเรียนมีฟันเเท้ผุจำนวน 85 คนคิดเป็นร้อยละ 10.76 เหงือกอักเสบจำนวน 53 คน คิดเป็นร้อยละ6.71

ดังนั้นทางโรงเรียนได้เห็นถึงความสำคัญของปัญหาโรคฟันผุจึงได้จัดทำ “โครงการส่งเสริมการเเปรงฟัน ” ขึ้นใน โรงเรียนสตูลศานติศึกษา โดยเริ่มจากกลุ่มอนุบาลตลอดจนประถมศึกษา การทำให้ผู้เรียนรักการแปรงฟันได้ทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนๆจะเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักดูแลสุขภาพของตัวเองเพื่อเป็นการลดปัญหาสุขภาพในช่องปากของผู้เรียนให้มีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น และเป็นการส่งเสริมสุขภาพช่องปากของผู้เรียนให้เหมาะสมถูกต้องตามวัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพฟันที่ดีและลดปัญหาการเกิดโรคฟันผุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจง สร้างเเกนนำ อสม.น้อย
  2. สำรวจสุขภาพฟัน
  3. อบรมให้ความรู้นักเรียนเรื่องสุขภาพในช่องปาก
  4. ฝึกทักษะการแปรงฟันอย่างถูกวิธีตามช่วงวัย
  5. ส่งรักษาต่อโรงพยาบาล
  6. ประเมินผลและถอดบทเรียนจากกิจกรรม
  7. รายงานผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 1,071
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพฟันที่ดี
  2. เพื่อลดปัญหาการเกิดโรคฟันผุ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพฟันที่ดีและลดปัญหาการเกิดโรคฟันผุ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 นักเรียนมีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพฟันเพิ่มขึ้น 2. ร้อยละ 80 นักเรียนมีสุขภาพฟันที่ดีเเละฟันไม่ผุ
10.76 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1071
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 1,071
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพฟันที่ดีและลดปัญหาการเกิดโรคฟันผุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจง สร้างเเกนนำ อสม.น้อย (2) สำรวจสุขภาพฟัน (3) อบรมให้ความรู้นักเรียนเรื่องสุขภาพในช่องปาก (4) ฝึกทักษะการแปรงฟันอย่างถูกวิธีตามช่วงวัย (5) ส่งรักษาต่อโรงพยาบาล (6) ประเมินผลและถอดบทเรียนจากกิจกรรม (7) รายงานผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการเเปรงฟันในโรงเรียนสตูลศานติศึกษา จังหวัด

รหัสโครงการ 2567-L8010-2-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอดุลย์ มะมิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด