กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ


“ โครงการส่งเสริมศักยภาพและพัฒนาสุขภาวะมวลรวมสมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรียนวิเชียรมาตุ ”

ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุธีรา เดชอรัญ ประธานชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรียนวิเชียรมาตุ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมศักยภาพและพัฒนาสุขภาวะมวลรวมสมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรียนวิเชียรมาตุ

ที่อยู่ ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1490-02-22 เลขที่ข้อตกลง 27/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมศักยภาพและพัฒนาสุขภาวะมวลรวมสมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรียนวิเชียรมาตุ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมศักยภาพและพัฒนาสุขภาวะมวลรวมสมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรียนวิเชียรมาตุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมศักยภาพและพัฒนาสุขภาวะมวลรวมสมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรียนวิเชียรมาตุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1490-02-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 101,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

“ยาเสพติด” ในกลุ่มเยาวชนเป็นปัญหาสำคัญระดับชาติ ที่ต้องเร่งดำเนินการแก้ไขอย่างจริงจังทั้งนั้น เพราะปัญหายาเสพติดที่มีการแพร่ระบาดในทุกพื้นที่ของประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโรงเรียน ชุมชน ได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกขณะ สร้างความกังวลให้กับทุกคน เพราะไม่เพียงแต่ประเทศจะต้องสูญเสียทรัพยากรมนุษย์ซึ่งกลุ่มเยาวชนนั้นเป็นทรัพยากรอันมีค่าของประเทศ ปัญหายาเสพติดยังนำมาซึ่งปัญหาอื่น ๆ อีกมากมาย ทั้งในแง่สังคมอย่างเช่น การก่ออาชญากรรม ปล้น จี้ ฯลฯ เกิดปัญหาส่วนบุคคลในด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิต อีกทั้งส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศและท้องถิ่น ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และความมั่นคงของประเทศ รัฐบาลต้องสูญเสียงบประมาณในการบำบัดอาการติดสารเสพติด รักษาอาการติดสารเสพติด จำนวนมาก สิ่งที่น่าวิตกกังวลคือกลุ่มเยาวชนที่เสพสารเสพติดติดนั้นมีแนวโน้มที่อายุจะลดลงเรื่อย ๆ มีการใช้สารเสพติดเพิ่มขึ้นในกลุ่มอายุ 12 - 19 ปี แในปี 2562 มีการสำรวจพบว่าเด็กและเยาวชนเสพสารเสพติดจำนวนร้อยละ 3.72 ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงมีความห่วงใยต่อประชาชนชาวไทยเป็นอย่างยิ่งโดยเฉพาะกลุ่มเด็กและเยาวชนที่เป็นกลุ่มขนาดใหญ่ เพราะมีจำนวนถึง 21 ล้านคน และเป็นกลุ่มที่มีคุณค่าอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศ นอกจากนี้ถือเป็นกลุ่มที่เสี่ยงต่อการติดยาเสพติดสูง เนื่องจากเป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้ในสิ่งต่าง ๆแต่ยังขาดวุฒิภาวะทางอารมณ์ที่ดีพอ รวมทั้งต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกายและจิตใจ จึงทรงพระกรุณาธิคุณรับเป็นองค์ประธานโครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ซึ่งปัจจุบันได้ใช้ชื่อเพื่อให้ง่ายต่อการรณรงค์ว่าโครงการ TO BE NUMBER ONE โดยทรงมีพระประสงค์มุ่งเน้นการรณรงค์ในกลุ่มเป้าหมายหลัก คือ วัยรุ่นและเยาวชนโดยกลวิธีสร้างกระแสการแสดงพลังอย่างถูกต้องโดยไม่ข้องแวะกับยาเสพติด การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจให้แก่เยาวชนในโรงเรียน ชุมชน อีกทั้งยังเป็นโครงการที่ช่วยแก้ไขปัญหาวัยรุ่นได้อย่างดีและยั่งยืน มีการส่งเสริมศักยภาพความสามารถ ความกล้าแสดงออก และความถนัดของนักเรียนและเยาวชนได้อย่างเต็มรูปแบบ โดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของสมาชิกทุกคน ซึ่งโรงเรียนเป็นสถานที่ที่เยาวชนใช้เวลาในชีวิตประจำวันมากที่สุด โรงเรียนจึงเป็นสถาบันที่สามารถสร้างภูมิคุ้มกันชีวิต โดยรณรงค์ป้องกัน ส่งเสริมนักเรียนตามความต้องการตามศักยภาพ ช่วยเหลือเยาวชนกลุ่ม เสี่ยง และกลุ่มที่มีปัญหา ทั้งทางด้านยาเสพติด เพศสัมพันธ์ และการท้องก่อนวัยอันควร การเรียนรู้อย่างถูกต้องเกี่ยวกับเพศศึกษา และมีวิธีป้องกันตนเองจากยาเสพติด ทำให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตของเยาวชน ชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรียนวิเชียรมาตุ ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลตำบลโคกหล่อ ให้มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ได้รับการศึกษาอย่างหลากหลายและเท่าเทียมสอดคล้องกับสภาพปัญหาหรือความต้องการ จากที่กล่าวมานั้น เพื่อรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดภายในประเทศ โรงเรียน ชุมชน ให้ดำเนินการเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพนั้น จะต้องอาศัยความร่วมมือและรวมพลังจากสถานศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร่วมแรงร่วมใจกันกระตุ้นและปลุกจิตสำนึกของเยาวชน ให้มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักว่า การที่จะเอาชนะปัญหายาเสพติด ซึ่งมิใช่หน้าที่ของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือองค์กรใดองค์กรหนึ่ง แต่ทุกคนในชาติจะต้องเป็นมีบทบาทที่สำคัญในเสริมสร้าง ป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมศักยภาพและพัฒนาสุขภาวะมวลรวมสมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรียนวิเชียรมาตุ เพื่อพัฒนาเยาวชนในโรงเรียน และเยาวชนในตำบลโคกหล่อ ให้เป็นทรัพยากรที่ทรงคุณค่าของประเทศ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตต่อการพัฒนาประเทศชาติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในวิธีการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
  2. เพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกับการท้องก่อนวัยอันควร
  3. เพื่อสร้างทักษะการปฏิเสธการใช้สารเสพติด
  4. เพื่อสร้างความรู้ และผลที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเสพติด
  5. เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตของเยาวชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมพัฒนาทักษาชีวิตเยาวชนแกนนำ TO BO NUMBER ONE
  2. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพเยาวชนต้นแบบเก่งและดี TO BE NUMBER ONE IDOL
  3. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ TO BE NUMBER ONE DANCERCISE

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดความเสี่ยงการติดเชื้อจากการมีเพศสัมพันธ์ในเยาวชน
  2. ลดอัตราการท้องก่อนวัยอันควร
  3. พัฒนาทักษะเยาวชนในการปฏิเสธการใช้สารเสพติด
  4. ลดภาวะเสี่ยงด้านการใช้สารเสพติด
  5. พัฒนาคุณภาพชีวิตของเยาวชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในวิธีการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความความรู้ ความเข้าใจ ในวิธีการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

 

2 เพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกับการท้องก่อนวัยอันควร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรม ลดอัตราการท้องก่อนวัยอันควรของเยาวชนกลุ่มเสี่ยง

 

3 เพื่อสร้างทักษะการปฏิเสธการใช้สารเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรม พัฒนาทักษะเยาวชนในการปฏิเสธการใช้สารเสพติด

 

4 เพื่อสร้างความรู้ และผลที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรม ลดภาวะเสี่ยง ด้านการใช้สารเสพติดในเยาวชน

 

5 เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตของเยาวชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรม เยาวชนมีคุณภาพชีวิต

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในวิธีการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (2) เพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกับการท้องก่อนวัยอันควร (3) เพื่อสร้างทักษะการปฏิเสธการใช้สารเสพติด (4) เพื่อสร้างความรู้ และผลที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเสพติด (5) เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตของเยาวชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพัฒนาทักษาชีวิตเยาวชนแกนนำ TO BO NUMBER ONE (2) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพเยาวชนต้นแบบเก่งและดี TO BE NUMBER ONE  IDOL (3) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ TO BE NUMBER ONE  DANCERCISE

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมศักยภาพและพัฒนาสุขภาวะมวลรวมสมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรียนวิเชียรมาตุ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1490-02-22

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุธีรา เดชอรัญ ประธานชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรียนวิเชียรมาตุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด