โครงการฟันสวยยิ้มใสสำหรับเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กตำบลเขาไพร
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการฟันสวยยิ้มใสสำหรับเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กตำบลเขาไพร ”
ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสุขใส สีนา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการฟันสวยยิ้มใสสำหรับเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กตำบลเขาไพร
ที่อยู่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 5/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฟันสวยยิ้มใสสำหรับเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กตำบลเขาไพร จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฟันสวยยิ้มใสสำหรับเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กตำบลเขาไพร
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฟันสวยยิ้มใสสำหรับเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กตำบลเขาไพร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,075.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ วันที่ 2 มกราคม 2562 มาตรฐานที่ด้านที่ 2 ครู/ผู้ดูแลเด็กให้การดูแล และจัดประสบการณ์การเรียนรู้และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 การส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายและดูแลสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปาก เป็นกิจกรรมหนึ่งที่จะทำให้เด็กมีสุขภาพดี การป้องกันโรคฟันผุสุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อสุขภาพของทุกคนโดยเฉพาะในเด็กปฐมวัยโรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรกและอัตราการผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ 1 – 3 ปี โรคฟันผุซึ่งเป็นปัญหาในช่องปากที่พบได้ทั่วไป ก็มีปัจจัยร่วมหลายๆ อย่างที่ส่งเสริมให้เกิดโรคนอกเหนือไปจากเชื้อโรคในช่องปาก เช่น อาจมาจากตัวบุคคลเองที่ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการรักษาสุขภาพช่องปากและการทำความสะอาดช่องปากของตนเอง การอยู่ในตรอบครัวที่ขาดการดูแลเอาใจใส่ หรือสภาพความเป็นอยู่ของครอบครัวที่ไม่เอื้อต่อการเอาใจใส่สุขภาพช่องปาก นอกจากนี้สื่อโฆษณาเกี่ยวกับอาหารและเครื่องดื่มก็มีอิทธิพลอย่างมากในสังคมปัจจุบัน สภาพเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมต่างๆ ล้วนมีมีสวนที่ทำให้กิดโรคได้เช่นกัน เป้าหมายทันตสุขภาพระยะยาวของประเทศไทยระบุไว้ว่า คนไทยมีสุขภาพช่องปากดี บดเคี้ยวได้ อยู่ในสังคมอย่างปกติ สุขทุกช่วงวัยของชีวิต การที่จะบรรลุเป้าหมายระยะยาวได้นั้นจะต้องเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก หรือเริ่มตั้งแต่ระยะฟันน้ำนมเริ่มขึ้น การที่สุขภาพปากสุขภาพช่องปากมีความสำพันธ์กับสุขภาพร่างกาย การดูแลสุขภาพช่องปากให้ดี จึงมีผลต่อการมีสุขภาพที่ดีด้วย แต่ปัญหาสุขภาพในช่องปากนั้นไม่ใด้เกิดจากาหตุภายในช่องปากเพียงอย่างเดียวแต่มีตัวปัญหาซึ่งเกิดจากสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันด้วย ยกตัวอย่างเช่นฟันใด้รับการดูแลรักษาอย่างดีตั้งแต่ในวัยเต็ก เมื่อถึงวัยผู้ใหญ่ไม่มีปัญหาด้านสุขภาพปากและฟัน สามารถใช้งานได้ครบทั้งปากไม่มีโรคในช่องปาก และไม่มีความเจ็บปวดในช่องปาก ดังนั้นหากเราวางรากฐานเรื่องสุขภาพและสุขภาพช่องปากแก่เด็กตั้งแต่ช่วงก่อนปฐมวัยในรูปแบบที่ถูกต้องเหมาะสม เพื่อให้ตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุซภาพปากและฟัน อาจทำให้ปัญหาสุขภาพในช่องปากนั้นลดน้อยลง และคนในสังคมโดยเฉพาะเด็กและเยาวชนก็จะมีสุขภาพฟันที่ดีการป้องกันฟันผุในเด็กปฐมวัยต้องอาศัยความร่วมมือของ ผู้ปกครองและครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเพื่อช่วยลดอัตราการเกิดฟันผุในวัยเด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาไพรได้ตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมดูแลสุขภาพฟันและการป้องกันโรคในช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียนเพื่อให้เด็กมีสุขภาพฟันและช่องปากที่แข็งแรงจึงได้จัดทำโครงการฟันสวยยิ้มใสสำหรับเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กตำบลเขาไพร ขึ้นเพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากและเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย ในการดูแลช่องปากและฟันของเด็กให้ฟันดีห่างไกลโรคฟันผุอย่างยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องทันตอนามัยในเด็กปฐมวัย
- เพื่อสร้างสุขนิสัยและฝึกทักษะการดูแลความสะอาดช่องปากให้แก่เด็ก
- เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่ดีและมีประโยชน์ต่อสุขภาพฟัน
- เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาไพรปลอดภัยจากโรคฟันผุ
- เพื่อสร้างความร่วมมือทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพของเด็ก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กก่อนวัยเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี
- ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
- ชุมชนมีส่วนร่วมและส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
- ผู้ปกครองครูครูผู้ดูแลเด็กมีทัศนคติที่ดีมีความรู้และทักษะในการดูแลความสะอาดของช่องปากและฟันของเด็กก่อนวัยเรียนและการให้โภชนาที่ถูกต้องสำหรับเด็กตามวัย
- มีกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโดยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและรณรงค์การป้องกันฟันผุ
- อัตราของการเกิดฟันผุลดลงในเด็กก่อนวัยเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องทันตอนามัยในเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อสร้างสุขนิสัยและฝึกทักษะการดูแลความสะอาดช่องปากให้แก่เด็ก
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่ดีและมีประโยชน์ต่อสุขภาพฟัน
ตัวชี้วัด :
4
เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาไพรปลอดภัยจากโรคฟันผุ
ตัวชี้วัด :
5
เพื่อสร้างความร่วมมือทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพของเด็ก
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องทันตอนามัยในเด็กปฐมวัย (2) เพื่อสร้างสุขนิสัยและฝึกทักษะการดูแลความสะอาดช่องปากให้แก่เด็ก (3) เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่ดีและมีประโยชน์ต่อสุขภาพฟัน (4) เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาไพรปลอดภัยจากโรคฟันผุ (5) เพื่อสร้างความร่วมมือทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพของเด็ก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการฟันสวยยิ้มใสสำหรับเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กตำบลเขาไพร จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุขใส สีนา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการฟันสวยยิ้มใสสำหรับเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กตำบลเขาไพร ”
ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสุขใส สีนา
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 5/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฟันสวยยิ้มใสสำหรับเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กตำบลเขาไพร จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฟันสวยยิ้มใสสำหรับเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กตำบลเขาไพร
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฟันสวยยิ้มใสสำหรับเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กตำบลเขาไพร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,075.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ วันที่ 2 มกราคม 2562 มาตรฐานที่ด้านที่ 2 ครู/ผู้ดูแลเด็กให้การดูแล และจัดประสบการณ์การเรียนรู้และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 การส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายและดูแลสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปาก เป็นกิจกรรมหนึ่งที่จะทำให้เด็กมีสุขภาพดี การป้องกันโรคฟันผุสุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อสุขภาพของทุกคนโดยเฉพาะในเด็กปฐมวัยโรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรกและอัตราการผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ 1 – 3 ปี โรคฟันผุซึ่งเป็นปัญหาในช่องปากที่พบได้ทั่วไป ก็มีปัจจัยร่วมหลายๆ อย่างที่ส่งเสริมให้เกิดโรคนอกเหนือไปจากเชื้อโรคในช่องปาก เช่น อาจมาจากตัวบุคคลเองที่ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการรักษาสุขภาพช่องปากและการทำความสะอาดช่องปากของตนเอง การอยู่ในตรอบครัวที่ขาดการดูแลเอาใจใส่ หรือสภาพความเป็นอยู่ของครอบครัวที่ไม่เอื้อต่อการเอาใจใส่สุขภาพช่องปาก นอกจากนี้สื่อโฆษณาเกี่ยวกับอาหารและเครื่องดื่มก็มีอิทธิพลอย่างมากในสังคมปัจจุบัน สภาพเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมต่างๆ ล้วนมีมีสวนที่ทำให้กิดโรคได้เช่นกัน เป้าหมายทันตสุขภาพระยะยาวของประเทศไทยระบุไว้ว่า คนไทยมีสุขภาพช่องปากดี บดเคี้ยวได้ อยู่ในสังคมอย่างปกติ สุขทุกช่วงวัยของชีวิต การที่จะบรรลุเป้าหมายระยะยาวได้นั้นจะต้องเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก หรือเริ่มตั้งแต่ระยะฟันน้ำนมเริ่มขึ้น การที่สุขภาพปากสุขภาพช่องปากมีความสำพันธ์กับสุขภาพร่างกาย การดูแลสุขภาพช่องปากให้ดี จึงมีผลต่อการมีสุขภาพที่ดีด้วย แต่ปัญหาสุขภาพในช่องปากนั้นไม่ใด้เกิดจากาหตุภายในช่องปากเพียงอย่างเดียวแต่มีตัวปัญหาซึ่งเกิดจากสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันด้วย ยกตัวอย่างเช่นฟันใด้รับการดูแลรักษาอย่างดีตั้งแต่ในวัยเต็ก เมื่อถึงวัยผู้ใหญ่ไม่มีปัญหาด้านสุขภาพปากและฟัน สามารถใช้งานได้ครบทั้งปากไม่มีโรคในช่องปาก และไม่มีความเจ็บปวดในช่องปาก ดังนั้นหากเราวางรากฐานเรื่องสุขภาพและสุขภาพช่องปากแก่เด็กตั้งแต่ช่วงก่อนปฐมวัยในรูปแบบที่ถูกต้องเหมาะสม เพื่อให้ตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุซภาพปากและฟัน อาจทำให้ปัญหาสุขภาพในช่องปากนั้นลดน้อยลง และคนในสังคมโดยเฉพาะเด็กและเยาวชนก็จะมีสุขภาพฟันที่ดีการป้องกันฟันผุในเด็กปฐมวัยต้องอาศัยความร่วมมือของ ผู้ปกครองและครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเพื่อช่วยลดอัตราการเกิดฟันผุในวัยเด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาไพรได้ตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมดูแลสุขภาพฟันและการป้องกันโรคในช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียนเพื่อให้เด็กมีสุขภาพฟันและช่องปากที่แข็งแรงจึงได้จัดทำโครงการฟันสวยยิ้มใสสำหรับเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กตำบลเขาไพร ขึ้นเพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากและเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย ในการดูแลช่องปากและฟันของเด็กให้ฟันดีห่างไกลโรคฟันผุอย่างยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องทันตอนามัยในเด็กปฐมวัย
- เพื่อสร้างสุขนิสัยและฝึกทักษะการดูแลความสะอาดช่องปากให้แก่เด็ก
- เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่ดีและมีประโยชน์ต่อสุขภาพฟัน
- เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาไพรปลอดภัยจากโรคฟันผุ
- เพื่อสร้างความร่วมมือทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพของเด็ก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กก่อนวัยเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี
- ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
- ชุมชนมีส่วนร่วมและส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
- ผู้ปกครองครูครูผู้ดูแลเด็กมีทัศนคติที่ดีมีความรู้และทักษะในการดูแลความสะอาดของช่องปากและฟันของเด็กก่อนวัยเรียนและการให้โภชนาที่ถูกต้องสำหรับเด็กตามวัย
- มีกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโดยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและรณรงค์การป้องกันฟันผุ
- อัตราของการเกิดฟันผุลดลงในเด็กก่อนวัยเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องทันตอนามัยในเด็กปฐมวัย ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อสร้างสุขนิสัยและฝึกทักษะการดูแลความสะอาดช่องปากให้แก่เด็ก ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่ดีและมีประโยชน์ต่อสุขภาพฟัน ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาไพรปลอดภัยจากโรคฟันผุ ตัวชี้วัด : |
|
|||
5 | เพื่อสร้างความร่วมมือทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพของเด็ก ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องทันตอนามัยในเด็กปฐมวัย (2) เพื่อสร้างสุขนิสัยและฝึกทักษะการดูแลความสะอาดช่องปากให้แก่เด็ก (3) เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่ดีและมีประโยชน์ต่อสุขภาพฟัน (4) เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาไพรปลอดภัยจากโรคฟันผุ (5) เพื่อสร้างความร่วมมือทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพของเด็ก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการฟันสวยยิ้มใสสำหรับเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กตำบลเขาไพร จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุขใส สีนา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......