กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ


“ โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่ 2,500 วัน ประจำปี 2567 ”

ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวจิตติมา สังข์สุวรรณ

ชื่อโครงการ โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่ 2,500 วัน ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1515-01–06 เลขที่ข้อตกลง 07/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่ 2,500 วัน ประจำปี 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่ 2,500 วัน ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่ 2,500 วัน ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1515-01–06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,800.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองมวน มีความประสงค์จะจัดทำ โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่ 2,500 วัน ประจำปี 2567 ในปีงบประมาณ 2567 โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ เป็นเงิน  16,800  บาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ส่วนที่ 1 : รายละเอียดแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
หลักการเหตุผล (ระบุสาเหตุและความจำเป็นต้องมีโครงการ) กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัย ร่วมกับภาคีเครือข่าย ได้ขับเคลื่อนโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพของสตรีและเด็กปฐมวัยไทย โดยมีชุมชน ท้องถิ่น และภาคีเครือข่ายระดับพื้นที่ ร่วมลงทุนและเป็นเจ้าของการขับเคลื่อนงานผ่านกลไกและมาตรการที่มีอยู่ในพื้นที่ รวมถึงส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมสำคัญ กิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน การพัฒนาคุณภาพงานบริการสาธารณสุข ทั้งคลินิกฝากครรภ์ (ANC) และคลินิกเด็กสุขภาพดี (WCC) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และเด็กอายุ 0 – 2 ปี ทุกคน ได้รับบริการครบถ้วนและดูแลอย่างทั่วถึง โดยไม่ทอดทิ้งกลุ่มด้อยโอกาส
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับภาคีเครือข่ายภายใต้การบูรณาการความร่วมมือ กลุ่มเด็กปฐมวัย 6 กระทรวง ได้แก่ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงแรงงาน และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ในการร่วมขับเคลื่อน การดำเนินงานการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ในกลุ่มเด็กปฐมวัย โดยร่วมกันผลักดันการดำเนินงานในระดับนโยบายจนถึงระดับปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ตลอดจนสร้างกลไกการดำเนินงานให้เอื้อต่อการดูแลกลุ่มเป้าหมาย ในระดับพื้นที่ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และสอดคล้องกับแผนพัฒนาเด็กปฐมวัย รวมถึงเป้าหมายการบูรณาการความร่วมมือกลุ่มเด็กปฐมวัย 6 กระทรวง จึงเกิดความร่วมมือของผ่านภาคีเครือข่ายในการยกระดับการดำเนินงานมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต เป็น มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน โดยมุ่งเน้นให้การดูแล ส่งเสริมสุขภาพ และสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กปฐมวัย ต่อเนื่องจนถึงเด็กอายุ 5 ปี
โดยขับเคลื่อนงานผ่านกลไก “ตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน” ซึ่งเป็นกลไกที่มุ่งหวังให้เกิดการบูรณาการความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ที่เป็นรูปธรรม ในการร่วมดำเนินงานดูแล ส่งเสริมสุขภาพ และการได้รับสวัสดิการทางสังคมอย่างเท่าเทียม ภายใต้สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กปฐมวัยทุกคนในตำบล เพื่อให้เด็กปฐมวัยไทย มีการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพพัฒนาการสมวัย และมีคุณภาพชีวิตที่ดี พร้อมส่งต่อทุนมนุษย์ที่มีคุณภาพ สำหรับประเทศไทยในอนาคตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ มีภาวะโภชนาการที่ดี 2. เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน 3. เพื่อลดภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ 4. เพื่อให้เด็กแรกเกิดมีน้ำหนักดี ไม่ตกเกณฑ์ 5. เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปี สูงดีสมส่วน 6. เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. สนับสนุนนมจืด 90 วัน 90 กล่อง แก่หญิงตั้งครรภ์ 2. ให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และคู่สมรส หรือผู้เลี้ยงดูเด็ก ผ่าน กิจกรรม กิน กอด เล่น เล่า โดยเน้นเรื่องโภชนาการ และการพัฒนาการของเด็ก 3. สร้างความรอบรู้เรื่องวิตามินธาตุเหล็ก 4. คัดกรองภาวะครรภ์เสี่ยงสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 110
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการ การดูแลหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด เด็กแรกเกิด ผ่านกลไกการขับเคลื่อนมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน โดยมีการดูแลอย่างต่อเนื่อง ครอบคลุม และมีคุณภาพทั้งระบบบริการสาธารณสุข ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาศักยภาพมนุษย์
  2. หญิงตั้งครรภ์ พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็กมีความรอบรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและเด็กได้อย่างมีคุณภาพเหมาะสมตามบริบทพื้นที่ โดยอาศัยการบูรณาการความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ มีภาวะโภชนาการที่ดี 2. เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน 3. เพื่อลดภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ 4. เพื่อให้เด็กแรกเกิดมีน้ำหนักดี ไม่ตกเกณฑ์ 5. เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปี สูงดีสมส่วน 6. เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของหญิงตั้งครรภ์ น้ำหนักเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ ในแต่ละไตรมาส 2. ร้อยละ 60 ของเด็กแรกเกิด – ต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว 3. ร้อยละ 80 หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุเหล็กและโฟลิคตลอดการตั้งครรภ์ 4. ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2,500 กรัม น้อยกว่า ร้อยละ 7 5. ร้อยละ 80 ของเด็กอายุ 0 – 5 ปี สูงดีสมส่วน 6. ร้อยละ 90 ของเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 110
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ มีภาวะโภชนาการที่ดี  2. เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน 3. เพื่อลดภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ 4. เพื่อให้เด็กแรกเกิดมีน้ำหนักดี ไม่ตกเกณฑ์  5. เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปี สูงดีสมส่วน 6. เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. สนับสนุนนมจืด 90 วัน 90 กล่อง แก่หญิงตั้งครรภ์ 2. ให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และคู่สมรส หรือผู้เลี้ยงดูเด็ก ผ่าน กิจกรรม กิน กอด เล่น เล่า โดยเน้นเรื่องโภชนาการ และการพัฒนาการของเด็ก 3. สร้างความรอบรู้เรื่องวิตามินธาตุเหล็ก  4. คัดกรองภาวะครรภ์เสี่ยงสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่ 2,500 วัน ประจำปี 2567 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1515-01–06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวจิตติมา สังข์สุวรรณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด