กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
รหัสโครงการ 60-L3050-1-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
วันที่อนุมัติ 29 มีนาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2559 - 31 สิงหาคม 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 17,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองแรต
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ โรงพยาบางส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองแรต ตำบลหนองแรต อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.849,101.403place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สถานการณ์ปัญหาภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก เป็นปัญหาสาธารณสุขไทยที่สาคัญ โดยเฉพาะหญิงตั้งครรภ์ สำรวจโลหิตจางในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ พ.ศ.๒๕๕๖-๒๕๕๕๙ พบว่า ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์มีแนวโน้มความชุกโลหิตจางสูงขึ้น พ.ศ๒๕๕๙หญิงตั้งครรภ์ มีความชุกโลหิตจาง ร้อยละ 18.4โดยการตรวจร่างกายและการเจาะเลือด ขณะตั้งครรภ์โดยภาพรวมของสถานการณ์ปัญหาภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ ตำบลหนองแรตมีผลกระทบต่อเด็กในครรภ์ ให้เกิดภาวะ น้ำหนักน้อย กว่า ๒๕๐๐ กรัม ซึ่งจะมีผลต่อการพัฒนาสมองเด็ก ให้เจริญเติบโต และมีโภชนาการที่ดีได้
ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองแรตดำเนินโครงการควบคุมและป้องกันโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ในหญิงตั้งครรภ์โดยมีมาตรการเสริมยาธาตุเหล็กเชิงป้องกันภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ ทุกรายพบว่า สถานการณ์ปัญหาโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สาคัญของประเทศไทย เนื่องจากยังขาดการสื่อสารเชิงนโยบายการควบคุมและป้องกันโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ทาให้นโยบายระดับจังหวัด ในการดาเนินงานดังกล่าวยังไม่เป็นรูปธรรม เพื่อหญิงตั้งครรภ์ยังไม่ตระหนักถึงความสาคัญของธาตุเหล็กกับสติปัญญาและพัฒนาการเด็กในครรภ์ ดังนั้นจึงมีความจาเป็นต้องดาเนินโครงการควบคุมและป้องกันโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ซึ่งมุ่งหวังให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับธาตุเหล็กอย่างเพียงพอ อันจะนาไปสู่สมรรถนะทางสติปัญญาและทางร่างกายของทารกในครรภ์ ต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อควบคุมและป้องกันภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ หญิงตั้งครรภ์

 

2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ลดภาวะโลหิตจางากการขาดธาตุเหล็ก ร้อยละ 90

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนการควบคุมและป้องกันโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
  2. พัฒนาระบบรายงาน ข้อมูลสถานการณ์ภาวะโลหิตจางในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. การดำเนินงานควบคุมและป้องกันโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กของประเทศไทยอย่างเป็นรูปธรรม
  2. หญิงตั้งครรภ์ได้รับธาตุเหล็กอย่างเพียงพอ และมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 ธ.ค. 2559 12:30 น.