กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คอลอตันหยง


“ โครงการส่งเสริมภาวะสุขภาพในผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุ ”

ตำบลคอลอตันหยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวปาตีเมาะ ดือราแมหะยี

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมภาวะสุขภาพในผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุ

ที่อยู่ ตำบลคอลอตันหยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3062-001-007 เลขที่ข้อตกลง 06/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมภาวะสุขภาพในผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคอลอตันหยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คอลอตันหยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมภาวะสุขภาพในผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมภาวะสุขภาพในผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคอลอตันหยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3062-001-007 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คอลอตันหยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามการคาดประมาณการประชากรประเทศไทยของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สคช.) (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2562) คาดการณ์ว่า ในปี พ.ศ. 2566 จะมีประชากรผู้สูงอายุสูงถึงร้อยละ 20.66 ของประชากรทั้งประเทศ และในปี พ.ศ. 2578 จะมีประชากรผู้สูงอายุสูงถึงร้อยละ 28.55 ของประชากรทั้งประเทศ การเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของผู้สูงอยุจะกระทบต่อสภาพสังคมของพื้นที่โดยเฉพาะมิติด้านสุขภาพ ในพื้นที่ตำบลคอลอตันหยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี มีผู้สูงอายุจำนวน 300 คนซึ่งเป็นความรับผิดชอบดูแลร่วมกันของทุกฝ่าย โดยเฉพาะเป็นภารกิจขององค์การบริหารส่วนตำบลตามกฎหมายประกอบกับความคาดหวังของชุมชนเพราะองค์กรปกครองท้องถิ่นอยู่ใกล้ชิดประชาชนที่สุด ทั้งนี้ยังต้องอาศัยความร่วมมือโดยเฉพาะการดูแลสุขภาพจากหน่วยบริการสาธารณสุขและ อสม.ในพื้นที่
การดูแลผู้สูงอายุให้มีสุขภาพดีนั้นเป็นเรื่องที่สำคัญ เพราะถ้าผู้สูงอายุสุขภาพไม่แข็งแรง เจ็บป่วยบ่อย สร้างความไม่สบายใจ และความกังวลอย่างมากให้กับญาติและผู้ดูแลจึงเป็นความเร่งด่วนที่ควรดูแลให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดี แข็งแรงตั้งแต่เนิ่นๆเพราะผู้สูงอายุมักมีปัญหาทางสุขภาพกายและสุขภาพจิต เนื่องมาจากการเสื่อมสมรรถภาพของร่างกายตามอายุขัยที่เพิ่มขึ้น ผู้สูงอายุจำเป็นต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด เพื่อให้มีสุขภาพดี มีความสุขทั้งกายและจิตใจทำให้คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุดีขึ้น ทั้งนี้บุคคลในครอบครัวมีบทบาทสำคัญมากในการดูแลผู้สูงอายุ ต้องเข้าใจปัญหา เพื่อจะได้ดูแลสุขภาพและสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุอย่างถูกต้องและเหมาะสมต่อไปจำเป็นต้องสร้างความรู้ให้ผู้ดูแล ต้องเข้าใจว่าความสำคัญของการดูแลผู้สูงอายุให้มีสุขภาพดีวิธีดูแลผู้สูงอายุวิธีจัดสภาพแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุจัดโภชนาการที่ดีสำหรับผู้สูงอายุปัญหาและวิธีรับมือการดูแลผู้สูงอายุ ทั้งทางกายและทางใจ ทั้งผู้สูงอายุและผู้ดูแล โดยในทางสาธารณสุขใช้ประเมินกิจวัตรประจําวัน โดยใช้ดัชนีบารเธลเอดีแอล (Barthel Activities of Daily Living : ADL) ในผู้สูงอายุ เพื่อแยกประเภทของผู้สูงอายุออกเป็น 4 ประเภท คือ 1.ภาวะพึ่งพาโดยสมบูรณ: very low initial score, total dependence 2.ภาวะพึ่งพารุนแรง : low initial score, severe dependenc 3.ภาวะพึ่งพาปานกลาง : intermediate initial score, moderately severs dependence 4.ไม่เป็นการพึ่งพา : intermediate high, mildly severs dependence, consideration of discharging homeเป็นเครื่องมือสำคัญในการเฝ้าระวังและวางแผนดูแลผู้สู.อายุ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคอลอตันหยงจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมภาวะสุขภาพในผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุปีงบ 2567 เพื่อมุ่งให้ผู้สูงอายุได้รับการประเมินและจำแนกกลุ่มการพึ่งพาด้านสุขภาพ (ADL) เพื่อการดูแลต่อเนื่อง และให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจสามารถให้การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประเมินการปฏิบัติตัวในกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุ
  2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุสามารถดูแลผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงโครงการส่งเสริมภาวะสุขภาพในผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุ ให้กับ อสม.ทุกคนในพื้นที่
  2. ลงพื้นที่ประเมินกิจวัตรประจําวัน ดัชนีบารเธลเอดีแอล (Barthel Activities of Daily Living : ADL) ในผู้สูงอายุ
  3. ประชุมสรุปผลการลงพื้นที่ประเมินกิจวัตรประจําวัน ดัชนีบารเธลเอดีแอล (Barthel Activities of Daily Living : ADL) ในผู้สูงอายุ เพื่อแยกประเภทของผู้สูงอายุออกเป็น 4 ประเภท คือ 1.ภาวะพึ่งพาโดยสมบูรณ: very low initial score, total dependence 2.ภาวะพึ่งพารุนแรง
  4. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ ในกลุ่มผู้สูงอายุที่ไม่เป็นการ พึ่งพาจำนวน 100 คน
  5. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ สำหรับผู้ดูแลผู้สูงอายุ
  6. สรุปและประเมินผลการดำเนินโครงการส่งเสริมภาวะสุขภาพในผู้สูงอายุและผู้ดูแล ผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุได้รับการประเมินและจำแนกกลุ่มการพึ่งพาด้านสุขภาพ (ADL) เพื่อการดูแลต่อเนื่อง
  2. ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจสามารถให้การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อประเมินการปฏิบัติตัวในกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้รับการประเมินกิจวัตรประจําวัน ดัชนีบารเธลเอดีแอล (Barthel Activities of Daily Living : ADL) ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90
48.00 32.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุสามารถดูแลผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
48.00 32.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประเมินการปฏิบัติตัวในกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุ (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุสามารถดูแลผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงโครงการส่งเสริมภาวะสุขภาพในผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุ ให้กับ อสม.ทุกคนในพื้นที่ (2) ลงพื้นที่ประเมินกิจวัตรประจําวัน ดัชนีบารเธลเอดีแอล (Barthel Activities of Daily Living : ADL) ในผู้สูงอายุ (3) ประชุมสรุปผลการลงพื้นที่ประเมินกิจวัตรประจําวัน ดัชนีบารเธลเอดีแอล (Barthel Activities of Daily Living : ADL) ในผู้สูงอายุ เพื่อแยกประเภทของผู้สูงอายุออกเป็น 4 ประเภท คือ 1.ภาวะพึ่งพาโดยสมบูรณ: very low initial score, total dependence 2.ภาวะพึ่งพารุนแรง (4) ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ ในกลุ่มผู้สูงอายุที่ไม่เป็นการ พึ่งพาจำนวน 100 คน (5) ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ สำหรับผู้ดูแลผู้สูงอายุ (6) สรุปและประเมินผลการดำเนินโครงการส่งเสริมภาวะสุขภาพในผู้สูงอายุและผู้ดูแล ผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมภาวะสุขภาพในผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3062-001-007

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวปาตีเมาะ ดือราแมหะยี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด