กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการมหัศจรรย์ 1000 วัน plus สู่ 2500วัน ในปีงบประมาณ พ.ศ.2567
รหัสโครงการ 67-L1515-01-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองปรือ
วันที่อนุมัติ 26 ธันวาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 สิงหาคม 2567
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 20,700.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวหทัยชนก ชำนาญ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.9,99.669place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 216 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากการติดตามภาวะโภชนาการเขตรับผิดชอบ รพ.สต.หนองปรือ พบหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง จำนวน 2 ราย ร้อยละ28.57 ทารกมีน้ำหนักแรกเกิดไม่น้อยกว่า 2,500 กรัม 2 รายร้อยละ 11.76 ในเด็ก 0- 5 ปี ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2566 ผลเด็กเตี้ย 10 คนร้อยละ 5.8 ค่อนข้างผอม 1 คนร้อยละ 0.58 และเด็กเริ่มอ้วนและอ้วน จำนวน 24 คน ร้อยละ 14.62 มีพัฒนาการสมวัย ปี 2566 146 คน ร้อยละ 97.33 ข้อมูลจาก HDC ปี2566
ด้วยเหตุนี้ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองปรือ จึงได้จัดทำโครงการ “โครงการมหัศจรรย์ 1000 วัน plus สู่ 2500วัน ในปีงบประมาณ พ.ศ.2567” เพื่อให้ตำบลมีการดำเนินงานดูแล ส่งเสริมสุขภาพและคุ้มครองสตรีและเด็กปฐมวัย เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยไทย เติบโต เต็มศักยภาพ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ผ่านกลไกความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนและท้องถิ่น ในระดับตำบล

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลฝากครรภ์คุณภาพ 8 ครั้งตามเกณฑ์ ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงในการตั้งครรภ์

ร้อยละ 75 ของหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์คุณภาพครบ 8 ครั้งตามเกณฑ์

2 เพื่อให้มารดาและทารกหลังคลอดได้รับการดูแลหลังคลอด 3 ครั้งตามเกณฑ์

ร้อยละ 60 ของมารดาและทารกหลังคลอดได้รับการดูแลหลังคลอด 3 ครั้งตามเกณฑ์

3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องและปลอดภัยขณะตั้งครรภ์

 

4 เพื่อให้เด็กแรกเกิด-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย -เด็กสูงดีสมส่วน ตามวัย

ร้อยละ 60 เด็กแรกเกิด-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย -เด็กสูงดีสมส่วน ตามวัย

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 20,700.00 0 0.00
1 ก.พ. 67 - 30 ส.ค. 67 ให้บริการฝากครรภ์ในหญิงตั้งครรภ์รายปกติที่ไม่มีความเสี่ยง มีการคัดกรองและประเมินความเสี่ยง ตามสิทธิประโยชน์ และนัดมาตรวจตามนัด 8 ครั้งตามเกณฑ์2.หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยม 3 ครั้ง โดยบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข และหรือ อสม.ตามเกณฑ์ และส่งเสริมมารดาเลี้ 0 20,700.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลฝากครรภ์คุณภาพ 8 ครั้งตามเกณฑ์
2. มารดาและทารกหลังคลอดได้รับการดูแลหลังคลอด
3. เด็กแรกเกิด-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 โภชนาการสมส่วน ตามวัย ร้อยละ 70
4. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอดและผู้ดูแลเด็กที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้นร้อยละ 80 5.เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่าย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 ม.ค. 2567 11:52 น.