กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อลดอัตราการเกิดผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่
ตัวชี้วัด : 1. อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง ร้อยละ ๕.๒ 2.อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ ลดลง ร้อยละ ๒.๕
1.00

 

 

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมได้ มากว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๔๐ 2.ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้มากว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๕๐
1.00

 

 

 

3 เพื่อลดและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยง เบาหวาน และความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ ๕๐
1.00

 

 

 

4 4. เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานทุกรายที่ผ่านการตรวจค่าน้ำตาลในเลือดแบบอดอาหาร ( FBS) และมีค่าน้ำตาล ๑๒๖ mg%ขึ้นไปหรือตรวจค่าน้ำตาลในเลือดโดยไม่อดอาหาร ๒๐๐ mg%ขึ้นไป ได้รับการตรวจ FPG
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานทุกรายที่ผ่านการตรวจค่าน้ำตาลในเลือดแบบอดอาหาร ( FBS) และมีค่าน้ำตาล ๑๒๖ mg%ขึ้นไปหรือตรวจค่าน้ำตาลในเลือดโดยไม่อดอาหาร ๒๐๐ mg%ขึ้นไป ได้รับการตรวจ FPG ร้อยละ ๑๐๐
1.00