กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราการเกิดผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่
ตัวชี้วัด : 1. อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง ร้อยละ ๕.๒ 2.อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ ลดลง ร้อยละ ๒.๕
1.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมได้ มากว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๔๐ 2.ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้มากว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๕๐
1.00

 

3 เพื่อลดและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยง เบาหวาน และความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ ๕๐
1.00

 

4 4. เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานทุกรายที่ผ่านการตรวจค่าน้ำตาลในเลือดแบบอดอาหาร ( FBS) และมีค่าน้ำตาล ๑๒๖ mg%ขึ้นไปหรือตรวจค่าน้ำตาลในเลือดโดยไม่อดอาหาร ๒๐๐ mg%ขึ้นไป ได้รับการตรวจ FPG
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานทุกรายที่ผ่านการตรวจค่าน้ำตาลในเลือดแบบอดอาหาร ( FBS) และมีค่าน้ำตาล ๑๒๖ mg%ขึ้นไปหรือตรวจค่าน้ำตาลในเลือดโดยไม่อดอาหาร ๒๐๐ mg%ขึ้นไป ได้รับการตรวจ FPG ร้อยละ ๑๐๐
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการเกิดผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ (2) เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (3) เพื่อลดและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย (4) 4. เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานทุกรายที่ผ่านการตรวจค่าน้ำตาลในเลือดแบบอดอาหาร ( FBS) และมีค่าน้ำตาล ๑๒๖ mg%ขึ้นไปหรือตรวจค่าน้ำตาลในเลือดโดยไม่อดอาหาร ๒๐๐ mg%ขึ้นไป ได้รับการตรวจ FPG

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เสนอแผนงานต่อคณะกรรมการกองทุนเพื่อขออนุมัติงบประมาณ (2) ประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงเข้าร่วมโครงการ (3) จัดเตรียมอุปกรณ์/ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (4) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh