กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ จัดตั้งสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health station ม.3 บ้านหัวหรั่ง ต.ชะรัด
รหัสโครงการ L3308-67-02-17
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม ม.3
วันที่อนุมัติ 1 กุมภาพันธ์ 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 31 สิงหาคม 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 26 กันยายน 2567
งบประมาณ 7,500.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสุพิศ เหมรีนี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 272 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
13.64
2 ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
8.44

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ประชาชนในหมู่บ้านเข้าถึงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง

ประชาชนในหมู่บ้านเข้าถึงคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงมากกว่า ร้อยละ 50

13.64 8.00
2 ประชาชนในหมู่บ้านเข้าถึงการคัดกรองโรคเบาหวาน

ประชาชนในหมู่บ้านเข้าถึงการคัดกรองโรคเบาหวานมากกว่า ร้อยละ 50

8.44 3.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : ประชาชนในหมู่บ้านเข้าถึงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : ประชาชนในหมู่บ้านเข้าถึงการคัดกรองโรคเบาหวาน

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

1 มี.ค. 67 - 31 ส.ค. 67 ให้บริการแก่ประชาชนในพื้นที่ 0.00 -
1 มี.ค. 67 - 31 ส.ค. 67 ติดตามกลุ่มเสี่ยงและให้คำแนะนำในการจัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพ 0.00 -
4 มี.ค. 67 1.ประชุมแต่งตั้งคณะทำงานโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานภาครัฐในพื้นที่รับผิดชอบ (รพ.สต./เทศบาล/อสม./ผู้นำชุมชน) จำนวน 30 คน จำนวน 1 ครั้ง ไม่ใช้งบประมาณ 0.00 -
6 มี.ค. 67 ประชุมคณะทำงานและร่วมจัดหาสถานที่ เครื่องมือ และมีอุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นต้องใช้ในการดำเนินงาน 7,500.00 -
20 ส.ค. 67 ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามและประเมินผลโครงการ 0.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในหมู่บ้าน เข้าถึงการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพิ่มขึ้น 2.ประชาชนในหมู่บ้านที่ใช้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัล สุขภาพดีขึ้น 3.อัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังลดลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 ม.ค. 2567 00:00 น.