กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพ เทศบาลตำบลแหลมโตนด


“ โครงการหนูน้อยฟันสวย เทศบาลตำบลแหลมโตนด ประจำปี 2567 ”

ตำบลแหลมโตนด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรัตนาภรณ์ คงมี

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยฟันสวย เทศบาลตำบลแหลมโตนด ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลแหลมโตนด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3326-01-04 เลขที่ข้อตกลง 9/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 27 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยฟันสวย เทศบาลตำบลแหลมโตนด ประจำปี 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแหลมโตนด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพ เทศบาลตำบลแหลมโตนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยฟันสวย เทศบาลตำบลแหลมโตนด ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยฟันสวย เทศบาลตำบลแหลมโตนด ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแหลมโตนด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3326-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 กุมภาพันธ์ 2567 - 27 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,938.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพ เทศบาลตำบลแหลมโตนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคฟันผุเป็นปัญหาที่พบมากในเด็กก่อนประถมศึกษา และเด็กวัยประถมศึกษา เนื่องจากอยู่ในช่วงที่มีฟันแท้ขึ้นในปาก จึงต้องมีการดูแลและป้องกันไม่ให้เกิดโรค ซึ่งการแปรงฟันอย่างถูกวิธีหลังอาหารกลางวัน จะเป็นวิธีที่เหมาะสมสำหรับนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นการยกระดับอนามัยส่วนบุคคลและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของนักเรียนให้เหมาะสมและยับยั้งการเกิดโรคอันจะนำไปสู่การมีทันตสุขภาพในช่องปากที่ดี อีกทั้งการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในเด็กก็นับว่ามีความสำคัญไม่น้อยผู้ปกครองควรมีความรู้ความเข้าใจและส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้แก่บุตรหลานได้อย่างถูกต้องเพื่อให้บุตรหลานมีพัฒนาการทางด้านร่างกายอารมณ์สังคมและสติปัญญาได้อย่างเหมาะสม กองการศึกษาเทศบาลตำบลแหลมโตนดได้ตะหนักถึงความสำคัญของการป้องกันโรคในช่องปากจึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยฟันสวยขึ้น โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะสนับสนุนให้เด็กก่อนวัยเรียน ได้รับการดูแล ทันตสุขภาพอย่างเหมาะสมโดยมุ่งเน้นบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพที่มีคุณภาพและครอบคลุม ร่วมกับพัฒนาศักยภาพของเด็กในการดูแลช่องปากของตนเองให้สะอาดอยู่เสมอ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการป้องกันโรคในช่องปาก
  2. เพื่อให้เด็กได้แปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน
  3. เพื่อส่งเสริมให้ครูและผู้ปกครองมีความรู้และป้องกันโรคในช่องปากของเด็ก
  4. เพื่อพัฒนาภาคีเครือข่ายและรูปแบบการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้บริการอุดฟันอย่างง่ายสำหรับเด็กที่มีปัญหาฟันผุ
  2. ส่งเสริมการแปรงฟัน
  3. อบรมให้ความรู้ สาธิตการแปรงฟันที่ถูกวิธี และการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องสำหรับเด็กครู และผู้ปกครอง
  4. เคลือบฟลูออไรด์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 76
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 83
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กสามารถเข้าถึงบริการป้องกันโรคในช่องปากทุกคน
  2. เด็กได้แปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันทุกวัน
  3. เด็ก ครูและผู้ปกครองมีความรู้และป้องกันโรคในช่องปากของเด็ก
  4. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากของเด็ก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการป้องกันโรคในช่องปาก
ตัวชี้วัด : เด็กเข้าถึงบริการป้องกันโรคในช่องปาก
17.00 14.00

 

2 เพื่อให้เด็กได้แปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน
ตัวชี้วัด : เด็กแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน คิดเป็นร้อยละ
76.00 100.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ครูและผู้ปกครองมีความรู้และป้องกันโรคในช่องปากของเด็ก
ตัวชี้วัด : ครูและผู้ปกครองมีความรู้และป้องกันโรคในช่องปากของเด็ก ร้อยละ
17.00 14.00

 

4 เพื่อพัฒนาภาคีเครือข่ายและรูปแบบการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก
ตัวชี้วัด : จำนวนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก
4.00 4.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 159
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 76
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 83
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการป้องกันโรคในช่องปาก (2) เพื่อให้เด็กได้แปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน (3) เพื่อส่งเสริมให้ครูและผู้ปกครองมีความรู้และป้องกันโรคในช่องปากของเด็ก (4) เพื่อพัฒนาภาคีเครือข่ายและรูปแบบการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้บริการอุดฟันอย่างง่ายสำหรับเด็กที่มีปัญหาฟันผุ (2) ส่งเสริมการแปรงฟัน (3) อบรมให้ความรู้ สาธิตการแปรงฟันที่ถูกวิธี และการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องสำหรับเด็กครู และผู้ปกครอง (4) เคลือบฟลูออไรด์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูน้อยฟันสวย เทศบาลตำบลแหลมโตนด ประจำปี 2567 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3326-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรัตนาภรณ์ คงมี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด