กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน


“ โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย กายใจเป็นสุข ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุมาวดี ณะไชยลักษณ์

ชื่อโครงการ โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย กายใจเป็นสุข

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5270-1-03 เลขที่ข้อตกลง 36/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2024 ถึง 30 กันยายน 2024


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย กายใจเป็นสุข จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย กายใจเป็นสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย กายใจเป็นสุข " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5270-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2024 - 30 กันยายน 2024 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประชากรไทยส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการเพาะปลูก ได้แก่ การทำนา ทำสวน ทำไร่จะเห็นได้ว่าเกษตรกรส่วนใหญ่จะใช้สารเคมีในการกำจัดศัตรูพืชโดยไม่ได้คำนึงถึงอันตรายต่อตนเองและผู้อื่น ซึ่งสารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทางโดยการสัมผัสทางผิวหนังจากการไม่สวมถุงมือและไม่สวมรองเท้าป้องกันขณะทำงาน การสูดหายใจละอองที่ฟุ้งในอากาศ การรับประทานอาหารและน้ำดื่นที่มีสารเคมีปนเปื้อน พฤติกรรมเหล่านี้ล้วนเป็นพฤติกรรมที่ส่งผลต่อสุขภาพเกษตรกรทั้งสิ้นการได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชจะเป็นพิษและอันตรายต่อสุขภาพ สามารถเกิดอาการแสดงเฉียบพลันตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนระดับรุนแรงถึงแก่ชีวิต ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของความเป็นพิษ และปริมาณที่ได้รับ นอกจากเกษตรกรจะได้รับอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชแล้วยังมีประชาชนทั่วไปที่บริโภคผักและผลไม้ได้รับสารพิษที่ตกค้างได้ ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนครจังหวัดสงขลา เป็นพื้นที่หนึ่งที่ประชากรประกอบอาชีพเกษตรกรรมปลูกผัก และรับจ้างในการฉีดพ่นและเก็บผลผลิตจากผลการตรวจหาระดับโคลีนเอสเตอเรสในเลือดในปีงบประมาณ ๒๕๖๓ จำนวน ๑0๐ คน พบว่า อยู่ในระดับเสี่ยง/ไม่ปลอดภัย จำนวน ๖๔ ราย คิดเป็นร้อยละ ๖๔.๐ ในปีงบประมาณ 2566 มีผู้ตรวจจำนวน 155 คน พบว่า อยู่ในระดับเสี่ยง/ไม่ปลอดภัย จำนวน 101 ราย คิดเป็นร้อยละ 65.16 และผู้ที่มีผลเสี่ยง/ไม่ปลอดภัย มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและมาตรวจซ้ำรอบที่ 2 จำนวน 45 ราย เมื่อเข้ารับการอบรมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จะอยู่ในระดับปกติ/ปลอดภัย เพิ่มขึ้นที่ จำนวน 18 ราย คิดเป็นร้อยละ 40 ส่วนใหญ่ผู้ที่มีผลการตรวจเลือดดีขึ้นจะเป็นกลุ่มที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รับยารางจืดจากโรงพยาบาลสิงหนครและรับประทานยาสมุนไพรรางจืดเอง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวัดขนุน ได้เห็นถึงความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย กายใจเป็นสุข เพื่อดูแลสุขภาพเกษตรกรและผู้บริโภคในชุมชน ประกอบด้วยการสำรวจข้อมูลเบื้องต้น การเจาะเลือดคัดกรองเพื่อสืบค้นความผิดปกติในระยะแรกเริ่ม โดยการจัดซื้อชุดตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด ซึ่งในปัจจุบันจะไม่ได้รับการสนับสนุนชุดตรวจดังกล่าวจากหน่วยงานต้นสังกัด ถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกรและผู้บริโภคเกี่ยวกับอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช การบริโภคอาหารและผักปลอดภัย ตลอดจนการแนะนำวิธีการรักษาเบื้องต้นโดยใช้สมุนไพรในการล้างพิษเป็นสิ่งสำคัญในการเพิ่มศักยภาพให้แก่ประชาชน เพื่อเป็นผู้นำในการส่งเสริมสุขภาพและส่งผลให้ทุกคนมีสุขภาพดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสมุนไพรล้างพิษ
  2. เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้ในเรื่องอาหารและผักปลอดภัย
  3. เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภคได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด และมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมความรู้ เกษตรกรและผู้บริโภค
  2. ตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรและผู้บริโภค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1เกษตรกรและผู้บริโภคปลอดภัยจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช

  1. ลดการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชในการเพาะปลูก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสมุนไพรล้างพิษ
ตัวชี้วัด : เกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสมุนไพรล้างพิษร้อยละ๕๐
0.00

 

2 เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้ในเรื่องอาหารและผักปลอดภัย
ตัวชี้วัด : เกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้ในเรื่องอาหารและผักปลอดภัย ร้อยละ 50
0.00

 

3 เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภคได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด และมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : เกษตรและผู้บริโภคได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสมุนไพรล้างพิษ (2) เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้ในเรื่องอาหารและผักปลอดภัย (3) เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภคได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด และมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมความรู้ เกษตรกรและผู้บริโภค (2) ตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรและผู้บริโภค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย กายใจเป็นสุข จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5270-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุมาวดี ณะไชยลักษณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด