กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จอเบาะ


“ โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายเพื่อสุขภาพ ปลอดภัยห่างไกลโรค ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุนิดา กายอตะฮีปง

ชื่อโครงการ โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายเพื่อสุขภาพ ปลอดภัยห่างไกลโรค ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2496-1-8 เลขที่ข้อตกลง 18/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายเพื่อสุขภาพ ปลอดภัยห่างไกลโรค ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จอเบาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายเพื่อสุขภาพ ปลอดภัยห่างไกลโรค ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายเพื่อสุขภาพ ปลอดภัยห่างไกลโรค ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2496-1-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,620.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จอเบาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การขลิบ (Circumcision) คือ การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย เป็นการผ่าตัดเล็กที่ทำกันบ่อยมาก จนเกือบถือว่าเป็นเรื่องปกติวิสัย ทั้งนี้การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในบางกลุ่มชนเป็นสิ่งปกติวิสัย เช่น ชาวยิว ที่จะขลิบหนังหุ้มปลายตั้งแต่แรกคลอด และชาวมุสลิมที่ขลิบในวัยเด็ก แต่ในประชาชนทั่วไปมีความเชื่อกันว่าการขลิบหนังหุ้มปลายจะทำให้สามารถดูแลทำความสะอาดได้ดีขึ้น ป้องกันการติดโรคบางชนิด และป้องกันมะเร็ง เป็นต้น ในบทความตามวิชาการแพทย์ที่ได้มีการศึกษาวิจัยในปัจจุบันที่ได้ศึกษาพัฒนาการของหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย เป็นอวัยวะที่มีอยู่ตามปกติ ปกคลุมส่วนปลายของอวัยวะเพศอยู่ เชื่อกันว่าทำหน้าที่ในการปกป้องส่วนปลายของอวัยวะเพศ และมีหน้าที่ในการรับรู้ความรู้สึกโดยเฉพาะเมื่อมีการกระตุ้นทางเพศ เพราะมีใยประสาทที่มีความไวเป็นจำนวนมากในบริเวณนี้ หลังคลอดหนังหุ้มปลายจะปิดปกคลุมปลายของอวัยวะเพศจนมิด และจะค่อย ๆ เผยออกจนสามารถมองเห็นรูเปิดของท่อปัสสาวะได้ แต่อย่างไรก็ดีเด็กอายุ 3 ปีจะมีอยู่ประมาณร้อยละ 10 ที่หนังหุ้มปลายไม่เปิด แต่ยังสามารถถ่ายปัสสาวะได้ เมื่อติดตามมาจนกระทั่งอายุ 6 ปี จะมีประมาณร้อยละ 8 ที่หนังหุ้มปลายไม่เปิดและเหลือเพียงร้อยละ 1 ที่หนังหุ้มปลายไม่เปิดจนถึงอายุ 16 ปี ถึงอย่างไรก็ดีเมื่อหนังหุ้มปลายเปิดใหม่ๆ จะยังไม่สามารถเปิดได้หมดเพราะยังมีเยื่อบางๆ ติดยึดอยู่กับปลายอวัยวะเพศ สิ่งที่พบเห็นได้บ่อยๆ ว่าเมื่อเด็กชายถ่ายปัสสาวะจะเห็นหนังหุ้มปลายโป่งพองออกเหมือนลูกโป่ง สิ่งนี้ถือเป็นปรากฏการณ์ปกติ บางครั้งอาจจะเห็นก้อนขาวๆ อยู่ใต้หนังหุ้มปลายก็เกิดจากการลอกตัวของเยื่อบุผิวกับไขมันมาจับตัวเป็นก้อนก็ถือได้ว่าไม่ใช่สิ่งผิดปกติที่น่าตกใจแต่ประการใด      การขลิบหนังหุ้มปลายสามารถป้องกันและลดการแพร่โรคได้ เช่น หูด หงอนไก่ เป็นต้น เพราะหนังหุ้มปลายที่ยาวอาจจะซ่อนรอยโรคเหล่านี้ไว้ นอกจากการขลิบสามารถป้องกันโรคมะเร็งอวัยวะเพศซึ่งจะเห็นได้ว่าชาวมุสลิมมีอัตราการเกิดมะเร็งอวัยวะเพศต่ำมาก (ศาสตราจารย์นายแพทย์วชิรคชการหน่วยศัลยศาสตร์ระบบปัสสาวะภาควิชาศัลยศาสตร์คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีมหาวิทยาลัยมหิดล 2556) เมื่อไม่นานมานี้ แพทย์ชาวสเปน ได้วิจัยพบว่า ผู้ชายที่ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ นอกจากจะส่งผลดีในการรักษาความสะอาดให้กับตนเองแล้ว ยังช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งปากมดลูกให้กับคู่นอนได้โดย ผลการวิจัยนี้มีการนำไปตีพิมพ์ในวารสารการแพทย์ นิว อิงแลนด์ งานวิจัยดังกล่าว พบว่า
1. การขลิบช่วยลดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในเด็กเล็กได้ การศึกษา (meta-analysis ) ปี 1993 มีงานวิจัย 9 เรื่องสรุปว่าช่วยลดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ และเด็กที่ไม่ขลิบติดเชื้อทางเดินปัสสาวะได้มากกว่าเด็กที่ขลิบ 12 เท่า
2. การขลิบลดการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ มีงานวิจัย 8 เรื่องรายงานว่า พบว่าการเกิดโรคติดต่อที่มีแผลที่อวัยวะเพศในคนที่ไม่ได้ขลิบมากกว่าคนที่ขลิบถึง 2-7 เท่า (โดยเฉพาะ syphilis และ chancroid) ลดลงของการอักเสบที่ปลายหนังหุ้มอวัยวะเพศชาย

  1. การขลิบลดการเกิดโรค HIV (Human immunodeficiency virus)ได้จากการศึกษา (Meta-analysis)ของ Weiss และคณะ พบว่ามีวิจัย 27 เรื่องที่สรุปว่าการขลิบลดการเกิดติดเชื้อเชื้อ HIV
  2. การขลิบลดการเกิดโรคติดเชื้อ HPV (Human papillomavirus) ในผู้ชาย และลดมะเร็งปากมดลูกในหญิงที่เป็นคู่นอนได้ การขลิบหนังหุ้มปลายองคชาติ หรือ Circumcision คือการตัดหนังบริเวณด้านหน้าขององคชาติออก จุดประสงค์คือเพื่อให้สามารถรูดออกทำความสะอาดบริเวณด้านในขององคชาติได้ ซึ่งผิวหนังบริเวณนี้จะมีต่อมซึ่งจะสร้างสารที่เรียกว่าขี้เปียก หรือ Smegma มีลักษณะเป็นขุยขาวๆ คล้ายขี้ไคลขึ้นมาและการที่ไม่สามารถเปิดออกล้างได้ จะทำให้สารดังกล่าวคั่ง ก่อให้เกิดกลิ่น การติดเชื้อเรื้อรัง รวมทั้งอาจก่อให้เกิดโรคร้ายอย่างมะเร็งที่องคชาติได้ และจากการเก็บข้อมูลพบว่าผู้ป่วยมะเร็งองคชาติเกือบทั้งหมด ไม่สามารถรูดหนังออกเพื่อทำความสะอาดได้ ผู้ชายที่เป็นมะเร็งที่องคชาติปัจจุบันพบได้บ้างแต่ไม่มากนัก ส่วนใหญ่อายุมากกว่า 60 ปี ดูแลสุขอนามัยไม่ค่อยดี และที่สำคัญมักจะหนังหุ้มปลายไม่เปิดดังนั้น ข้อบ่งชี้ในการผ่าตัดขลิบหนัง หุ้มปลายจึงมีประโยชน์ต่อสุขอนามัยของผู้ชายโดยตรง ส่วนผู้หญิงก็ได้อานิสงส์ได้ความมั่นใจในชายคู่ของเธอคนนั้นมากขึ้นไปด้วย เนื่องจากมีผลการศึกษาออกมาว่าการขลิบลดความเสี่ยงมะเร็งปากมดลูกให้เธอได้ มาดูรายละเอียดของผลการศึกษาของคณะแพทย์สเปนกันบ้างครับ พวกเขาบอกว่าสามีจะสามารถช่วยลดความเสี่ยงต่อโรคร้ายดังกล่าวให้กับภรรยาได้ ด้วยการขลิบหนังหุ้มปายอวัยวะเพศ ในขณะที่ผู้ชายเองก็จะปลอดจากโรคติดเชื้อที่อวัยวะเพศ โดยการขลิบปลายอวัยวะเพศนั้น ทำให้ผู้ชายมีโอกาสติดเชื้อไวรัสHPV (Human Papilloma Virus) น้อยลง ซึ่งเชื้อไวรัสดังกล่าว คือ เชื้อไวรัสโรคหงอนไก่ นั่นเอง ซึ่งพบว่าการติดเชื้อหงอนไก่นั้น มีความสัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งปากมดลูกอย่างชัดเจน โดยเชื่อว่าเป็นต้นเหตุที่ทำให้เกิดมะเร็งปากมดลูกถึง 99% ในการศึกษาข้อมูลนั้น คณะแพทย์สเปนเปิดเผยว่าพวกเขาวิเคราะห์ผลการศึกษา 7 รายการใน 5 ประเทศ 3 ทวีป ซึ่งพบว่าผู้ชายที่ไม่ได้ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศมีเชื้อไวรัสเอชพีวี เกือบ 20 % แต่คนที่ขลิบปลายอวัยวะเพศมีไม่ถึง 6 % ที่เป็นเช่นนี้ส่วนหนึ่งก็คือเรื่องของการทำความสะอาดที่ง่ายกว่าในรายที่ทำ การผ่าตัดเปิดหนังหุ้มปลาย สำหรับผู้หญิงนั้นโอกาสที่จะเกิดมะเร็งปากมดลูกจะลดลง 58% หากคู่นอนขลิบปลายอวัยวะเพศแล้ว แม้ว่าผู้ชายคนดังกล่าวมีประวัติว่าผ่านคู่นอนมาหลายคนก็ตาม กรณีนี้จึงมีการคำนวณกันว่าถ้าหากมีผู้ชายขลิบอวัยวะเพศในโลกประมาณ 25% ก็จะช่วยลดการเกิดมะเร็งปากมดลูกได้ 23-40% ขณะเดียวกันก็จะลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งที่อวัยวะเพศชายได้ ลดการติดเชื้อไวรัสเอชพีวีและอื่นๆ ลงได้อีกด้วยดังนั้น จะเห็นได้ว่าแม้มะเร็งองคชาติจะพบได้น้อยคือประมาณ 1 ใน 100,000 แต่ก็เป็นโรคที่ไม่ควรเสี่ยงเพราะถ้าเป็นแล้วต้องตัดทิ้งอย่างเดียว     เพราะฉะนั้น เพื่อให้การดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุตามวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลจอเบาะ จึงได้จัดทำโครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายเพื่อสุขภาพ ปลอดภัยห่างไกลโรค ปีงบประมาณ 256๗ ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้การทำความสะอาดอวัยวะเพศทำได้ง่ายขึ้น
  2. 2. เพื่อป้องโรคมะเร็งองคชาติ
  3. 3. เพื่อระงับและป้องกันโรคติดต่อที่อาจเกิดขึ้นจากเพศสัมพันธ์
  4. 4. เพื่อลดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในเด็กเล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้และขลิบ
  2. 1.ค่าตอบแทนวิทยากร
  3. 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  4. 3. ค่าอาหารกลางวัน
  5. 4. ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ
  6. 5.ค่าหัตถการ เวชภัณฑ์
  7. 6. ค่าผ้าขาวม้าสำหรับเด็กเข้าสุนัต

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 45
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 45
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1การทำความสะอาดอวัยวะเพศทำได้ง่ายขึ้น 2.สามารถป้องกันโรคมะเร็งองคชาติ 3.สามารถป้องกันโรคติดต่อที่อาจเกิดขึ้นจากเพศสัมพันธุ์ 4.สามารถลดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในเด็กเล็ก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.ค่าตอบแทนวิทยากร

วันที่ 12 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมผู้เกี่ยวข้อง
  2. ขออนุมัติโครงการและงบประมาณ
  3. ดำเนินการจัดโครงการและกิจกรรม -อบรม.ในเรื่องการขลิบ  -ขลิบหนังอวัยวะเพศชาย
  4. สรุปและประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.การทำความสะอาดอวัยวะเพศทำได้ง่ายขึ้น 2.สามารถป้องกันโรคมะเร็งองคชาติ 3.สามารถป้องกันโรคติดต่อที่อาจเกิดขึ้นจากเพศสัมพันธุ์ 4.สามารถลดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในเด็กเล็ก

 

0 0

2. 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

วันที่ 12 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมผู้เกี่ยวข้อง
  2. ขออนุมัติโครงการและงบประมาณ
  3. ดำเนินการจัดโครงการและกิจกรรม -อบรม.ในเรื่องการขลิบ  -ขลิบหนังอวัยวะเพศชาย
  4. สรุปและประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.การทำความสะอาดอวัยวะเพศทำได้ง่ายขึ้น 2.สามารถป้องกันโรคมะเร็งองคชาติ 3.สามารถป้องกันโรคติดต่อที่อาจเกิดขึ้นจากเพศสัมพันธุ์ 4.สามารถลดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในเด็กเล็ก

 

90 0

3. 3. ค่าอาหารกลางวัน

วันที่ 12 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมผู้เกี่ยวข้อง
  2. ขออนุมัติโครงการและงบประมาณ
  3. ดำเนินการจัดโครงการและกิจกรรม -อบรม.ในเรื่องการขลิบ  -ขลิบหนังอวัยวะเพศชาย
  4. สรุปและประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.การทำความสะอาดอวัยวะเพศทำได้ง่ายขึ้น 2.สามารถป้องกันโรคมะเร็งองคชาติ 3.สามารถป้องกันโรคติดต่อที่อาจเกิดขึ้นจากเพศสัมพันธุ์ 4.สามารถลดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในเด็กเล็ก

 

0 0

4. 4. ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ

วันที่ 12 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมผู้เกี่ยวข้อง
  2. ขออนุมัติโครงการและงบประมาณ
  3. ดำเนินการจัดโครงการและกิจกรรม -อบรม.ในเรื่องการขลิบ  -ขลิบหนังอวัยวะเพศชาย
  4. สรุปและประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.การทำความสะอาดอวัยวะเพศทำได้ง่ายขึ้น 2.สามารถป้องกันโรคมะเร็งองคชาติ 3.สามารถป้องกันโรคติดต่อที่อาจเกิดขึ้นจากเพศสัมพันธุ์ 4.สามารถลดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในเด็กเล็ก

 

0 0

5. 5.ค่าหัตถการ เวชภัณฑ์

วันที่ 12 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมผู้เกี่ยวข้อง
  2. ขออนุมัติโครงการและงบประมาณ
  3. ดำเนินการจัดโครงการและกิจกรรม -อบรม.ในเรื่องการขลิบ  -ขลิบหนังอวัยวะเพศชาย
  4. สรุปและประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.การทำความสะอาดอวัยวะเพศทำได้ง่ายขึ้น 2.สามารถป้องกันโรคมะเร็งองคชาติ 3.สามารถป้องกันโรคติดต่อที่อาจเกิดขึ้นจากเพศสัมพันธุ์ 4.สามารถลดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในเด็กเล็ก

 

0 0

6. 6. ค่าผ้าขาวม้าสำหรับเด็กเข้าสุนัต

วันที่ 12 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมผู้เกี่ยวข้อง
  2. ขออนุมัติโครงการและงบประมาณ
  3. ดำเนินการจัดโครงการและกิจกรรม -อบรม.ในเรื่องการขลิบ  -ขลิบหนังอวัยวะเพศชาย
  4. สรุปและประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.การทำความสะอาดอวัยวะเพศทำได้ง่ายขึ้น 2.สามารถป้องกันโรคมะเร็งองคชาติ 3.สามารถป้องกันโรคติดต่อที่อาจเกิดขึ้นจากเพศสัมพันธุ์ 4.สามารถลดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในเด็กเล็ก

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้การทำความสะอาดอวัยวะเพศทำได้ง่ายขึ้น
ตัวชี้วัด : กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลจอเบาะ มีการขับเคลื่อนและดำเนินการในงานต่างๆ ของ กองทุนฯ ร้อยละ 90
90.00

 

2 2. เพื่อป้องโรคมะเร็งองคชาติ
ตัวชี้วัด :

 

3 3. เพื่อระงับและป้องกันโรคติดต่อที่อาจเกิดขึ้นจากเพศสัมพันธ์
ตัวชี้วัด :

 

4 4. เพื่อลดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 45
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 45
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้การทำความสะอาดอวัยวะเพศทำได้ง่ายขึ้น (2) 2. เพื่อป้องโรคมะเร็งองคชาติ (3) 3. เพื่อระงับและป้องกันโรคติดต่อที่อาจเกิดขึ้นจากเพศสัมพันธ์ (4) 4. เพื่อลดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในเด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และขลิบ (2) 1.ค่าตอบแทนวิทยากร (3) 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (4) 3. ค่าอาหารกลางวัน (5) 4. ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ (6) 5.ค่าหัตถการ เวชภัณฑ์ (7) 6. ค่าผ้าขาวม้าสำหรับเด็กเข้าสุนัต

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายเพื่อสุขภาพ ปลอดภัยห่างไกลโรค ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2496-1-8

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุนิดา กายอตะฮีปง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด