กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก


“ โครงการตลาดต้นปริกสะอาด ปลอดภัย ปลอดโรค ”

ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายสมเกียรติ ยงกำลัง ประธานคณะกรรมการตลาดต้นปริก

ชื่อโครงการ โครงการตลาดต้นปริกสะอาด ปลอดภัย ปลอดโรค

ที่อยู่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7889-02-02 เลขที่ข้อตกลง 05/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 20 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตลาดต้นปริกสะอาด ปลอดภัย ปลอดโรค จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตลาดต้นปริกสะอาด ปลอดภัย ปลอดโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตลาดต้นปริกสะอาด ปลอดภัย ปลอดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L7889-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 20 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,400.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ชีวิตดำรงอยู่ได้ แต่หากอาหารนั้นมีสารที่เป็นอันตราย ปนเปื้อน หรือแม้แต่มีสารที่อนุญาตให้ใช้ในอาหารได้ แต่มีปริมาณที่มากกว่าที่กำหนดก็ย่อมให้เกิดพิษภัยกับผู้บริโภค ส่งผล ต่อคุณภาพชีวิต จากนโยบายด้านการพัฒนาสาธารณสุขและส่งเสริมคุณภาพชีวิตของเทศบาลตำบลปริก ส่งเสริมการดำเนิน กิจกรรมด้านการสร้างเสริมสุขภาพของประชาชน และการบริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นยุทธศาสตร์การสร้างนำซ่อม พัฒนาปรับปรุงงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในชุมชน ผู้ประกอบการ ร้านค้า ร้านอาหาร เพื่อเข้าสู่มาตรฐาน อาหารสะอาด รสชาติอร่อย การส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดีไม่เจ็บป่วย เป็นสิ่งที่รัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องให้การสนับสนุน ควบคุม ดูแล เฝ้าระวัง และป้องกัน ให้กับประชาชน เน้นให้ประชาชนได้บริโภคอาหาร ปลอดภัย มีคุณค่าอย่างทั่วถึง ครอบคลุมทุกพื้นที่ ปัจจุบันปัญหาสำคัญที่พบ มักจะมีสารปนเปื้อนอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเมื่อรับประทานเข้าไปแล้ว ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ อาจเกิดผลทั้งในระยะสั้นและระยะยาวหรืออาจถึงกับชีวิตได้ ส่วนใหญ่ร้านค้าจะเห็นประโยชน์ ส่วนตัวมากกว่าผู้บริโภค ทำให้ได้รับสารปนเปื้อนเข้าไปสะสมในร่างกาย     ตลาดต้นปริก เป็นตลาดที่มุ่งพัฒนาสู่ตลาดสีเขียว (Green Marketing) คือ แนวคิดการทำการตลาดที่คำนึงถึง สิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน ซึ่งไม่ใช่แค่ในมุมของการตลาด แต่ยังรวมไปถึงการผลิต การขนส่ง การจัดจำหน่ายสินค้า และใน ทุกด้านของการจำหน่ายอาหารที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม อีกทั้งตลาดต้นปริกยังส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้ประกอบการปฏิบัติตาม ข้อกำหนดสุขาภิบาลอาหาร ๑๒ ข้อ ตามแบบประเมินแผงลอยจำหน่ายอาหาร ของสำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย ซึ่งในอนาคตตลาดปริกอาจจะเป็นแบบอย่างให้แก่ตลาดนัดอื่นๆ ในมิติของตลาดนัดสีเขียว และการจัดการ สุขาภิบาลอาหารของตลาดที่ถูกต้องตามกรมอนามัยกำหนด     ดังนั้น เพื่อเป็นการพัฒนาตลาดอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนในเรื่องการสุขาภิบาลอาหาร และสิ่งแวดล้อมของตลาดดับ ปริก คณะกรรมการตลาดต้นปริก จึงจัดทำโครงการตลาดต้นปริ ปลอดภัย ปลอดโรค ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สัมผัสอาหารในตลาดต้นปริกผ่านการอบรมหลักสูตรผู้สัมผัสอาหาร
  2. เพื่อให้ผู้สัมผัสอาหารในตลาดต้นปริกปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลผู้สัมผัสอาหาร
  3. เพื่อให้ตลาดต้นปริก มีความสะอาด ปลอดภัย ปลอดโรค มีส่วนร่วมในการรักษาสิ่งแวดล้อม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประเมินผลการดำเนินโครงการ และคืนข้อมูลผลการ ดำเนินงานในภาพรวมให้ผู้ประกอบการทราบ เพื่อ ปรับปรุงพัฒนาร้านจำหน่ายอาหาร และมอบป้าย ร้านอาหารต้นแบบให้แก่ร้านที่ปฏิบัติตามข้อกำหนด สุขาภิบาลอาหารและปฏิบัติตามแนวทางตลาดสีเขียว
  2. กิจกรรม ให้ความรู้เรื่อง หลักสูตรผู้สัมผัสอาหาร ,ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหารตามเกณฑ์แผงลอย,แนวทางตลาดสีเขียว (Green market)
  3. เจ้าหน้าที่สุขาภิบาลอาหารและคณะกรรมการตลาดดัน ปริก ลงพื้นที่ประเมินตลาดตามเกณฑ์ประเมินแผงลอย จำหน่ายอาหาร ๑๒ ข้อ กรมอนามัยในตลาดต้นปริก
  4. เจ้าหน้าที่สุขาภิบาลอาหารคณะกรรกการตลาดต้นปริก ติดตามผลของการปฏิบัติตามเกณฑ์ประเมินแผง จำหน่ายอาหารและการคัดแยกขยะของผู้ประกอบการ สัปดาห์ละ ๒ ครั้ง เป็นระยะเวลา ๓ เดือน
  5. รายงานผลการดำเนินโครงการแก่คณะ กรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาล ตำบลปริก
  6. กิจกรรม ให้ความรู้เรื่อง หลักสูตรผู้สัมผัสอาหาร ,ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหารตามเกณฑ์แผงลอย,แนวทางตลาดสีเขียว (Green market)
  7. กิจกรรม Big Cleaning ตลาดต้นปริก
  8. เจ้าหน้าที่สุขาภิบาลอาหารคณะกรรกการตลาดต้นปริก ติดตามผลของการปฏิบัติตามเกณฑ์ประเมินแผง จำหน่ายอาหารและการคัดแยกขยะของผู้ประกอบการ สัปดาห์ละ ๒ ครั้ง เป็นระยะเวลา ๓ เดือน
  9. เจ้าหน้าที่สุขาภิบาลอาหารและคณะกรรมการตลาดดัน ปริก ลงพื้นที่ประเมินตลาดตามเกณฑ์ประเมินแผงลอย จำหน่ายอาหาร ๑๒ ข้อ กรมอนามัยในตลาดต้นปริก
  10. รายงานผลการดำเนินโครงการแก่คณะ กรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาล ตำบลปริก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 65
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้บริโภคในตลาดต้นปริกได้รับสินค้าที่มีคุณภาพ สะอาด ปลอดภัย
  2. ตลาดดันปริกเป็นตลาดต้นแบบด้านตลาดสีเขียวและตลาดที่มีการจัดการจัดการตามหลักสุขาภิบาล

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สัมผัสอาหารในตลาดต้นปริกผ่านการอบรมหลักสูตรผู้สัมผัสอาหาร
ตัวชี้วัด : 1.ผู้สัมผัสอาหารในตลาดต้นปรึกเข้าร่วมอบรมหลักสูตรผู้สัมผัสอาหารอย่างน้อยร้านละ ๑ คน 2.กลุ่มเป้าหมายเข้าอบรมหลักสูตรผู้สัมผัสอาหาร เข้าร่วมอบรม ร้อยละ ๑๐๐

 

2 เพื่อให้ผู้สัมผัสอาหารในตลาดต้นปริกปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลผู้สัมผัสอาหาร
ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลผู้สัมผัสอาหาร

 

3 เพื่อให้ตลาดต้นปริก มีความสะอาด ปลอดภัย ปลอดโรค มีส่วนร่วมในการรักษาสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : ตลาดต้นปริกเป็นตลาดที่มีการบริหารจัดการตามหลักสุขาภิบาล และเป็นตลาดนัดสีเขียว

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 65
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 65
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สัมผัสอาหารในตลาดต้นปริกผ่านการอบรมหลักสูตรผู้สัมผัสอาหาร (2) เพื่อให้ผู้สัมผัสอาหารในตลาดต้นปริกปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลผู้สัมผัสอาหาร (3) เพื่อให้ตลาดต้นปริก มีความสะอาด ปลอดภัย ปลอดโรค มีส่วนร่วมในการรักษาสิ่งแวดล้อม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประเมินผลการดำเนินโครงการ และคืนข้อมูลผลการ ดำเนินงานในภาพรวมให้ผู้ประกอบการทราบ เพื่อ ปรับปรุงพัฒนาร้านจำหน่ายอาหาร และมอบป้าย ร้านอาหารต้นแบบให้แก่ร้านที่ปฏิบัติตามข้อกำหนด สุขาภิบาลอาหารและปฏิบัติตามแนวทางตลาดสีเขียว (2) กิจกรรม ให้ความรู้เรื่อง หลักสูตรผู้สัมผัสอาหาร ,ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหารตามเกณฑ์แผงลอย,แนวทางตลาดสีเขียว (Green market) (3) เจ้าหน้าที่สุขาภิบาลอาหารและคณะกรรมการตลาดดัน ปริก ลงพื้นที่ประเมินตลาดตามเกณฑ์ประเมินแผงลอย จำหน่ายอาหาร ๑๒ ข้อ กรมอนามัยในตลาดต้นปริก (4) เจ้าหน้าที่สุขาภิบาลอาหารคณะกรรกการตลาดต้นปริก ติดตามผลของการปฏิบัติตามเกณฑ์ประเมินแผง จำหน่ายอาหารและการคัดแยกขยะของผู้ประกอบการ สัปดาห์ละ ๒ ครั้ง เป็นระยะเวลา ๓ เดือน (5) รายงานผลการดำเนินโครงการแก่คณะ กรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาล ตำบลปริก (6) กิจกรรม ให้ความรู้เรื่อง หลักสูตรผู้สัมผัสอาหาร ,ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหารตามเกณฑ์แผงลอย,แนวทางตลาดสีเขียว (Green market) (7) กิจกรรม  Big  Cleaning ตลาดต้นปริก (8) เจ้าหน้าที่สุขาภิบาลอาหารคณะกรรกการตลาดต้นปริก ติดตามผลของการปฏิบัติตามเกณฑ์ประเมินแผง จำหน่ายอาหารและการคัดแยกขยะของผู้ประกอบการ สัปดาห์ละ ๒ ครั้ง เป็นระยะเวลา ๓ เดือน (9) เจ้าหน้าที่สุขาภิบาลอาหารและคณะกรรมการตลาดดัน ปริก ลงพื้นที่ประเมินตลาดตามเกณฑ์ประเมินแผงลอย จำหน่ายอาหาร ๑๒ ข้อ กรมอนามัยในตลาดต้นปริก (10) รายงานผลการดำเนินโครงการแก่คณะ กรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาล ตำบลปริก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตลาดต้นปริกสะอาด ปลอดภัย ปลอดโรค จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7889-02-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมเกียรติ ยงกำลัง ประธานคณะกรรมการตลาดต้นปริก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด