กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนตลาดใต้-บ้านกลางอารมณ์ดี ชีวีมีสุข ”

ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางนัยนา แก้วทุย ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านชุมชนตลาดใต้-บ้านกลาง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนตลาดใต้-บ้านกลางอารมณ์ดี ชีวีมีสุข

ที่อยู่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7889-02-03 เลขที่ข้อตกลง 06/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนตลาดใต้-บ้านกลางอารมณ์ดี ชีวีมีสุข จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนตลาดใต้-บ้านกลางอารมณ์ดี ชีวีมีสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนตลาดใต้-บ้านกลางอารมณ์ดี ชีวีมีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L7889-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องด้วยในปัจจุบัน การเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ซึ่งในหลายๆโรคจะปรับเปลี่ยนไปตามภาวะเศรษฐกิจ วัฒนธรรมซึ่งมีผลต่อพฤติกรรมของประชาชนที่เกิดการเปลี่ยนแปลงไตามวิถีชีวิต และโรคที่มีการเจ็บป่วยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ คือ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น ซึ่งต้องได้รับการรักษาตลอดชีวิต และมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจนเกิดความพิการได้ ถ้าไม่ได้รับการรักษา หรือขาดการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีภาวะการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ซึ่งปัญหาดังกล่าวทั้งในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยติดเตียง มักมีผลกระทบต่อทั้งญาติผู้ดูแลและผู้ป่วยในบางรายญาติไม่มีเวลาที่จะมาดูแล หรือบางรายก็ขาดความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพ ประกอบกับสถานการณ์สังคมปัจจุบันมนุษย์มีพฤติกรรมที่เร่งรีบในการทำกิจกรรม เพื่อหาปัจจัยมาเลี้ยงครอบครัวยังขาดการดูแลตนเองที่ถูกวิธีเป็นเหตุผลให้สุขภาพไม่ค่อยแข็งแรงเจ็บป่วยง่าย อันเนื่องมาจากขาดการออกกำลังกายที่ถูกวิธีและความรู้ที่ถูกต้อง และบางส่วนมีภาวะเครีดสะสมที่เกิดจากการทำงาน และปัจจัยอื่นๆ จนเป็นสาเหตุของโรคซึมเศร้า       จากการสำรวจประชาชนในชุมชนตลาดใต้ – บ้านกลาง พบว่ามีปัญหาสุขภาพการเจ็บป่วยเรื้อรัง ได้แก่ ความดันโลหิตสูง ไขมันในเส้นเลือดสูง บางส่วนมีภาวะเครียด ละเลยการตรวจสุขภาพของตนเอง การขาดการออกกำลังกายที่  ถูกวิธี ขาดความรู้และแรงจูงใจในการดูแลเกี่ยวกับสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัว
      ด้วยเหตุนี้ อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนตลาดใต้-บ้านกลาง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนตลาดใต้-บ้านกลาง อารมณ์ดีทุกชีวีมีสุข เพื่อตอบสนองความต้องการในการบรรเทาปัญหาสุขภาพ ที่หลากหลายของคนในชุมชนตลาดใต้-บ้านกลาง เพื่อเป็นแรงจูงใจนำไปสู่การดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชนอย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้แกนนำมีความรู้ในการดูแลสุขภาพ
  2. เพื่อให้แกนนำมีทักษะในการฝึกกายบริหารและสามารถถ่ายทอดให้คนในครอบครัวและชุมชนได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมบรรยายให้ความรู้
  2. แกนนำฝึกปฏิบัติการทำอุปกรณ์บริหารร่างกายจากวัสดุในท้องถิ่น และฝึกปฏิบัติออกกำลังกาย/กายบริหารประสานจิต พร้อมวางแผนการดำเนินกิจกรรมในชุมชน และรวมกลุ่มออกกำลังกาย/กายบริหารประสานจิต และกิจกรรมนันทนาการส่งเสริมสุขภาพจิต ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง 3.ติดตามประเมินส
  3. ประเมินผลโครงการและรายงานผลโครงการต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนทราบ
  4. กิจกรรมบรรยายให้ความรู้ (ภาคเช้า)
  5. กิจกรรมให้ความรู้ (ภาคบ่าย)
  6. แกนนำฝึกปฏิบัติการทำอุปกรณ์บริหารร่างกายจากวัสดุในท้องถิ่น และฝึกปฏิบัติออกกำลังกาย/กายบริหารประสานจิต พร้อมวางแผนการดำเนินกิจกรรมในชุมชน และรวมกลุ่มออกกำลังกาย/กายบริหารประสานจิต และกิจกรรมนันทนาการส่งเสริมสุขภาพจิต ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง 3.ติดตามประเมินส
  7. ประเมินผลโครงการและรายงานผลโครงการต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนทราบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 5
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 5
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในชุมชนตลาดใต้ – บ้านกลางมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพร่างกาย
  2. ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคที่ป้องกันได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้แกนนำมีความรู้ในการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1.แกนนำเข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 100 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1.แกนนำมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีขึ้น

 

2 เพื่อให้แกนนำมีทักษะในการฝึกกายบริหารและสามารถถ่ายทอดให้คนในครอบครัวและชุมชนได้
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1.แกนนำมีความรู้และมีทักษะในการจัดทำอุปกรณ์กายบริหาร ร้อยละ 100 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1.แกนนำ นำความรู้และทักษะกายบริหารไปใช้ในชีวิตประจำวัน และถ่ายทอดให้แก่คนในครอบครัวและชุมชน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 5
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 5
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำมีความรู้ในการดูแลสุขภาพ (2) เพื่อให้แกนนำมีทักษะในการฝึกกายบริหารและสามารถถ่ายทอดให้คนในครอบครัวและชุมชนได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมบรรยายให้ความรู้ (2) แกนนำฝึกปฏิบัติการทำอุปกรณ์บริหารร่างกายจากวัสดุในท้องถิ่น และฝึกปฏิบัติออกกำลังกาย/กายบริหารประสานจิต พร้อมวางแผนการดำเนินกิจกรรมในชุมชน และรวมกลุ่มออกกำลังกาย/กายบริหารประสานจิต และกิจกรรมนันทนาการส่งเสริมสุขภาพจิต ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง 3.ติดตามประเมินส (3) ประเมินผลโครงการและรายงานผลโครงการต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนทราบ (4) กิจกรรมบรรยายให้ความรู้  (ภาคเช้า) (5) กิจกรรมให้ความรู้  (ภาคบ่าย) (6) แกนนำฝึกปฏิบัติการทำอุปกรณ์บริหารร่างกายจากวัสดุในท้องถิ่น และฝึกปฏิบัติออกกำลังกาย/กายบริหารประสานจิต พร้อมวางแผนการดำเนินกิจกรรมในชุมชน และรวมกลุ่มออกกำลังกาย/กายบริหารประสานจิต และกิจกรรมนันทนาการส่งเสริมสุขภาพจิต ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง 3.ติดตามประเมินส (7) ประเมินผลโครงการและรายงานผลโครงการต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนทราบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนตลาดใต้-บ้านกลางอารมณ์ดี ชีวีมีสุข จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7889-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนัยนา แก้วทุย ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านชุมชนตลาดใต้-บ้านกลาง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด