กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาแกะ


“ โครงการจัดการขยะในตำบลตาแกะปีงบประมาณ2567 ”

ตำบลตาแกะ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลตาแกะ

ชื่อโครงการ โครงการจัดการขยะในตำบลตาแกะปีงบประมาณ2567

ที่อยู่ ตำบลตาแกะ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3042-02-03 เลขที่ข้อตกลง 67-L3042-02-03

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดการขยะในตำบลตาแกะปีงบประมาณ2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาแกะ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาแกะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดการขยะในตำบลตาแกะปีงบประมาณ2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดการขยะในตำบลตาแกะปีงบประมาณ2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาแกะ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3042-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,520.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาแกะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันปัญหาขยะ เป็นปัญหาสำคัญระดับประเทศ ซึ่งสาเหตุหนึ่งนั้นเกิดจากประชาชนไม่รู้จักวิธีการบริหารจัดการขยะและการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง โดยส่วนใหญ่จะทิ้งลงตามสถานที่สาธารณะ หรือทิ้งลงตามแม่น้ำลำคลอง โดยนำหลัก (๓Rs : Reduce Reuse Recycle) ที่มุ่งเน้นให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน เพื่อสร้างความสมดุลและการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ซึ่งขยะมูลฝอยเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนในหลายๆด้าน และมีลักษณะคล้ายกันเกือบทั่วประเทศ ทำให้เกิดมลพิษทางดิน น้ำ และอากาศ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่างๆและพาหนะนำโรค ทำลายทัศนียภาพ อีกทั้งก่อให้เกิดเหตุรำคาญเกิดปัญหาเรื่องกลิ่น แมลงรบกวนในชุมชน ปัญหาด้านขยะมูลฝอยเกิดขึ้นกับชุมชนทุกแห่ง ทั้งเมืองขนาดเล็ก ถึงเมืองใหญ่ในตัวจังหวัด อำเภอ ตำบล หรือแม้กระทั้งในชุมชน
ตำบลตาแกะ เป็นอีกพื้นที่ที่ประสบกับปัญหาด้านการจัดการขยะมูลฝอยซึ่งชาวบ้านส่วนใหญ่ยังใช้วิธีการแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการแบบเดิม คือ การฝั่งกลบและเผากลางแจ้ง ซึ่งเป็นวิธีการจัดการขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกวิธี และส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะการปนเปื้อนของมลพิษต่อดิน แหล่งน้ำ ที่สำคัญกลายเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่างๆและเป็นแหล่งของพาหะนำโรคต่างๆ ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และเพื่อเป็นการสนองนโยบายและการแก้ไขปัญหาขยะ องค์การบริหารส่วนตำบลตาแกะและแกนนำชุมชน ตำบลตาแกะ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จึงจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือ ร่วมใจจากทุกภาคส่วน รวมทั้งเยาวชนในพื้นที่ ซึ่งนับเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนเพื่อให้ชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่ดีต่อไปในอนาคต เพื่อร่วมกันจัดหาวิธีการดำเนินการจัดการเกี่ยวกับขยะเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล พร้อมกับเสนอวิธีการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง เพื่อนำเข้าสู่ขั้นตอนการจัดการขยะที่ถูกต้อง ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลตาแกะ ได้เล็งเห็นความสำคัญจึงได้จัดทำบริหารจัดการขยะในตำบลตาแกะ ปีงบประมาณ ๒๕๖๗ โดยเน้นให้เยาวชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยอย่างถูกต้อง ตั้งแต่ต้นทาง ระหว่างทาง และปลายทาง เป็นการลดปริมาณขยะมูลฝอยและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงเป็นการแก้ปัญหาด้านการสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น และยังสามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่างๆและลดพาหะนำโรคเพื่อสุขภาวะที่ดีของประชาชนตำบลตาแกะ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน
  2. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
  3. เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
  4. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)
  5. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
  6. เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ
  7. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. บรรยายให้ความรู้
  2. กิจกรรม Big Cleaning Day
  3. บรรยายให้ความรู้เรื่อง การลดแหล่งพาหะนำโรคซึ่งก่อให้เกิดโรคติดต่อ โดยการลดและคัดแยกขยะตามหลักการ ๓ ช : ใช้น้อย ใช้ซ้ำ และนำกลับมาใช้ใหม่ (๓Rs : Reduce Reuse Recycle)
  4. บรรยายให้ ความรู้การจัดทำถังขยะอินทรีย์หรือถังขยะเปียกในครัวเรือนสาธิตวิธีการทำถังขยะอินทรีย์และการทำน้ำหมักไปใช้ในครัวเรือน พร้อมตอบ ข้อซักถาม
  5. ฺBig Cleaning Day ในโรงเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้นำศาสนาและผู้นำชุมชน 40

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

สามารถลดปริมาณขยะในพื้นที่ได้อย่างต่อเนื่องทำให้พื้นที่สะอาดปราศจากแหล่งเพาะพันธ์ุของเชื้อโรคต่าง ๆ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน
ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน
100.00 1280.00

 

2 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
45.67 89.75

 

3 เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
1.00 4.00

 

4 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า
44.65 55.00

 

5 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
70.00 85.00

 

6 เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการด้านการจัดการขยะ
1.00 4.00

 

7 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า
43.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้นำศาสนาและผู้นำชุมชน 40

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน (2) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ (3) เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน (4) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) (5) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ (6) เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ (7) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) บรรยายให้ความรู้ (2) กิจกรรม Big Cleaning Day (3) บรรยายให้ความรู้เรื่อง การลดแหล่งพาหะนำโรคซึ่งก่อให้เกิดโรคติดต่อ โดยการลดและคัดแยกขยะตามหลักการ ๓ ช : ใช้น้อย ใช้ซ้ำ และนำกลับมาใช้ใหม่  (๓Rs : Reduce Reuse Recycle) (4) บรรยายให้ ความรู้การจัดทำถังขยะอินทรีย์หรือถังขยะเปียกในครัวเรือนสาธิตวิธีการทำถังขยะอินทรีย์และการทำน้ำหมักไปใช้ในครัวเรือน  พร้อมตอบ  ข้อซักถาม (5) ฺBig Cleaning Day ในโรงเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดการขยะในตำบลตาแกะปีงบประมาณ2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3042-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลตาแกะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด