กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง


“ โครงการผู้สูงวัย กายใจ สมบูรณ์ 5 มิติ (ต่อเนื่อง) ปี 2567 ”

ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุทธิมา พิชัยวงศ์ธรรมมา

ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงวัย กายใจ สมบูรณ์ 5 มิติ (ต่อเนื่อง) ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L7012-1-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้สูงวัย กายใจ สมบูรณ์ 5 มิติ (ต่อเนื่อง) ปี 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงวัย กายใจ สมบูรณ์ 5 มิติ (ต่อเนื่อง) ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้สูงวัย กายใจ สมบูรณ์ 5 มิติ (ต่อเนื่อง) ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L7012-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ คาดว่าในปี 2567 จะมีประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีราว 1 ใน 6 ของประชากรทั้งหมด กล่าวตามนิยามของสหประชาชาติ คือ เมื่อประเทศใดมีประชากร อายุ 60    ปีขึ้นไป เกินร้อยละ 10 หรือ ประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไป เกินร้อยละ 7 ของประชากรทั้งหมด ถือว่าประเทศนั้น  ได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุตั้งแต่ปี 2547 และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในปี 2567 หรือ อีก 9 ปีข้างหน้า เกิดการเปลี่ยนแปลง โครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ มีผลกระทบต่ออัตราส่วนภาวะพึ่งพิง หรือ ภาวะโดยรวม    ที่ประชากรวัยทำงาน จะต้องเลี้ยงประชากรวัยสูงอายุที่มีจำนวนเพิ่มขึ้น อาจนำไปสู่ปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงปัญหาในด้านสุขภาพ ของผู้สูงอายุด้วย เนื่องจากผู้สูงอายุมีภาวะด้านสุขภาพที่เปลี่ยนแปลง มีความเสื่อมของร่างกาย อวัยวะต่าง ๆ ทั่วไป เริ่มอ่อนแอและเกิดโรค ตาย ภูมิต้านทานโรคน้อยลง รวมถึงมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและสังคมด้วยชุมชน………เขต………..มีผู้สูงอายุจำนวน 891…คน คิดเป็นร้อยละ…………..ของประชากรทั้งหมดในชุมชน………เขต…………..พบว่ามีกลุ่มที่ติดสังคม จำนวน 921 คน ซึ่งมีกลุ่มที่เป็นภาวะพึ่งพิง ได้แก้ กลุ่มติดบ้าน จำนวน 30 คนและกลุ่มติดเตียง จำนวน…1….คน ดังนั้นเพื่อลดภาระการดูแลเพื่อไม่ให้กลุ่มผู้สูงอายุที่ยังไม่เข้าสู่กลุ่มภาวะพึ่งพิงได้ สามารถช่วยเหลือตนเองได้ทั้งทางด้านสุขภาพทางกาย และจิตใจ ผู้สูงอายุกลุ่มดังกล่าวควรได้รับการส่งเสริมให้เกิด ความแข็งแรงทั้งกายและใจ ด้วยความสุข ๕ มิติ ได้แก่
๑. สุขสบาย คือ ความสามารถของผู้สูงอายุในการดูแล สมรรถภาพร่างกายให้คล่องแคล้ว
๒. สุขสนุก คือ ความสามารถของผู้สูงอายุในการเลือกวิถีชีวิตที่รื่นรมย์ สนุกสนาน ๓. สุขสง่า คือ ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจในชีวิต ความภาคภูมใจ ความเชื่อมั่น การได้รับการยอมรับนับถือ
๔. สุขสว่าง คือ ความสามารถของผู้สูงอายุด้านความจำ ความคิดอย่างมีเหตุผล การสื่อสาร การวางแผน และการแก้ไขปัญหา
๕. สุข สงบ คือ ความสามารถของผู้สูงอายุในการรับรู้เข้าใจความรู้สึกของตนเอง รู้จักควบคุมอารมณ์และสามารถจัดการกับ สภาวะอารมณ์ได้ การส่งเสริมความสุขทั้ง ๕ มิตินี้จะทำให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน เห็นความสำคัญในการดูแลผู้สูงอายุในกลุ่มที่มีภาวะพึ่งพิง จึงได้จัดทำโครงการความสุข 5 มิติ ผู้สูงอายุกาย ใจ แข็งแรง มีความสำคัญอย่างยิ่งในการส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพของ ผู้สูงอายุแบบองค์รวม ให้มีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง มีจิตใจเข้มแข็ง และมีคุณภาพชีวิตที่ดี เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถ ดำเนินชีวิตอย่างมีความสุขและตระหนักถึงคุณค่าในตนเอง พร้อมเป็นพลังให้แก่ชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้
  2. จัดกิจกรรมการพอกเข่า
  3. ติดตามเยี่ยมบ้าน
  4. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์
  5. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  6. ให้ความรู้
  7. กิจกรรมการพอกเข่า
  8. ติดตามเยี่ยมบ้าน
  9. เตรียมวัสดุอุปกรณ์
  10. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้สูงอายุสามารถดำเนินชีวิตอย่างมีความสุขและตะหนักดูแลร่างกายและจิตใจของตนเองได้ สามารถปฏิบัติ กิจวัตรประจำวันไดตามเกณฑ ADL (ตั้งแต่ ๑๒ คะแนน ขึ้นไป)


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้ (2) จัดกิจกรรมการพอกเข่า (3) ติดตามเยี่ยมบ้าน (4) จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ (5) ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (6) ให้ความรู้ (7) กิจกรรมการพอกเข่า (8) ติดตามเยี่ยมบ้าน (9) เตรียมวัสดุอุปกรณ์ (10) ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผู้สูงวัย กายใจ สมบูรณ์ 5 มิติ (ต่อเนื่อง) ปี 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L7012-1-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุทธิมา พิชัยวงศ์ธรรมมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด