กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าขมิ้น


“ โครงการรู้เร็ว รู้ทัน ป้องกันภัย มะเร็งปากมดลูก ปี 2567 ”

ตำบลท่าขมิ้น อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

หัวหน้าโครงการ
นายเฉลา ทัศศรี

ชื่อโครงการ โครงการรู้เร็ว รู้ทัน ป้องกันภัย มะเร็งปากมดลูก ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลท่าขมิ้น อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรู้เร็ว รู้ทัน ป้องกันภัย มะเร็งปากมดลูก ปี 2567 จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าขมิ้น อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าขมิ้น ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้เร็ว รู้ทัน ป้องกันภัย มะเร็งปากมดลูก ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรู้เร็ว รู้ทัน ป้องกันภัย มะเร็งปากมดลูก ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าขมิ้น อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2566 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าขมิ้น เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม เป็นโรคมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ 1 และ 2 ของโรคมะเร็งทั้งหมดในสตรีไทย ปัจจุบันสถิติการเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งเต้านม และโรคมะเร็งปากมดลูกในสตรีไทยมีปริมาณเพิ่มขึ้นในโรคมะเร็งเต้านม เสียชีวิต 17.2 ต่อแสนประชากร ในโรคมะเร็งปากมดลูกเสียชีวิต 19.5 ต่อแสนประชากร ปัญหาดังกล่าวก่อให้เกิดความสูญเสียทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และทางด้านเศรษฐกิจ เป็นอย่างมาก แต่จะสามารถป้องกันและรักษาให้หายขาดได้ ถ้าพบผู้ป่วยโรคมะเร็งในระยะเริ่มแรก ได้พบว่าการคัดกรอง โดยวิธีการตรวจ HPV DNA Test คือ การตรวจในระดับโมเลกุล เพื่อหาเชื้อ HPV ความเสี่ยงสูงทั้ง 14 สายพันธุ์ ซึ่งเป็นสาเหตุของมะเร็งปากมดลูก ประมาณ 99% โดยมีวิธีการตรวจเหมือนตรวจภายใน เพื่อจะตรวจหาเชื้อ HPV DNA การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเบื้องต้นด้วยวิธี เอชพีวี ดีเอ็นเอ (HPV DNA Test) เป็นการตรวจด้วยวิธีเจาะลึกระดับดีเอ็นเอเพื่อตรวจหาเชื้อเอชพีวี สายพันธุ์ที่มีความเสี่ยงสูงทั้ง 14 สายพันธุ์ คือสายพันธุ์ 16, 18 และ เอชพีวี อีก 12 สายพันธุ์ ซึ่งเป็นสาเหตุหลักสูงถึง 99% ของการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกในผู้หญิง และทราบหรือไม่ว่าเชื้อเอชพีวี สายพันธุ์ 16 และ18 สองสายพันธุ์นี้เป็นสาเหตุของโรคมะเร็งปากมดลูกสูงถึง70% ดังนั้นถ้าสามารถกระตุ้นให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้มีความรู้และเข้าใจ เกี่ยวกับโรคดังกล่าว พร้อมทั้งตระหนักและเห็นถึงความสำคัญ ของการตรวจค้นหาโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มแรกก็จะทำให้อัตราการเกิดโรค อัตราการป่วย และอัตราการตายจากโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูกลดลงแต่ก็เป็นโรคที่สามารถรักษาได้ สำหรับมะเร็งเต้านม สามารถตรวจพบได้โดยการตรวจเต้านมด้วยตนเองเป็นประจำทุกเดือน เพื่อค้นหาความผิดปกติของเต้านม ซึ่งเป็นวิธีที่ได้รับการแนะนำให้ปฏิบัติมากที่สุด เนื่องจากเป็นวิธีที่ ไม่ยุ่งยาก สามารถปฏิบัติได้ง่ายด้วยตนเอง โดยไม่ต้องอาศัยเครื่องมือพิเศษใดๆช่วยในการตรวจ ประหยัดเวลา ไม่เสียค่าใช้จ่าย ดังนั้นงานศูนย์บริการสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงได้ให้ความสำคัญการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมขึ้นเพื่อค้นหาผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมให้ได้รับการรักษาตั้งแต่ในระยะเริ่มแรก ตำบลท่าขมิ้น มีผลงานการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ผลงานสะสม ปี ( 2564-2566 ) เป้าหมาย 765 คน ได้รับการตรวจคัดกรอง363 คนคิดเป็นร้อยละ 47.45 ในรายที่พบผลผิดปกติจากการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ทุกรายได้รับการส่งต่อตามแนวทางการรักษา โรงพยาบาลส่งเสริมตำบลท่าขมิ้นเห็นความสำคัญในเรื่องดังกล่าวจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อเสริมสร้างความรู้ การป้องกัน มะเร็งปากมดลูก เพื่อค้นหาผู้ที่มีความผิดปกติให้ได้รับการส่งต่อ รักษาตามขั้นตอนอย่างรวดเร็ว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้สตรี อายุ 30 - 60 ปี และประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 50-70 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม อย่างน้อยร้อยละ 80 2. เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยง อายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สำรวจประชากรกลุ่มเป้าหมาย สตรีอายุ 30 - 60 ปี ในพื้นที่ 12 หมู่บ้าน
  2. ชี้แจงให้ความรู้แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุข เรื่องมะเร็ง ม ปากมดลูก มะเร็งเต้านม
  3. คัดกรองด้วยวาจาประชาชนสตรีได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก อายุ 30 - 60 ปี
  4. อบรมกลุ่มเป้าหมายให้ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ลักษณะ มีส่วนร่วมและเชิญชวนกลุ่มเป้าหมายตรวจมะเร็งปากมดลูก (HPV DNA TEST) - นัดหมายกำหนดการตรวจมะเร็งปากมดลูก HPV DNA TEST - ประเมินความรู้โดยการซักถามขณะประชุมกลุ่ม
  5. จัดกิจกรรมตรวจมะเร็งปากมดลูก HPV DNA TEST ในกลุ่มเป้าหมายพื้นทีรับผิดชอบ 12 หมู่บ้าน - เมื่อทราบผล ให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน แจ้งผลให้ผู้เข้ารับการตรวจทราบ
  6. ส่งกลุ่มเป้าหมายที่พบผลการตรวจผิดปกติ เพื่อรับการวินิจฉัยจากแพทย์ และรักษาตามขั้นตอน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 130
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สตรี อายุ 30 - 60 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม อย่างน้อยร้อยละ 80
  2. สตรีกลุ่มเสี่ยงอายุ 30-60 ปี ได้ตรวจมะเร็งปากมดลูก (HPV DNA TES)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้สตรี อายุ 30 - 60 ปี และประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 50-70 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม อย่างน้อยร้อยละ 80 2. เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยง อายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 50-70 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม อย่างน้อยร้อยละ 80
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 130
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้สตรี อายุ 30 - 60 ปี และประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 50-70 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม อย่างน้อยร้อยละ 80
2. เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยง อายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจประชากรกลุ่มเป้าหมาย สตรีอายุ 30 - 60 ปี ในพื้นที่ 12 หมู่บ้าน (2) ชี้แจงให้ความรู้แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุข เรื่องมะเร็ง  ม  ปากมดลูก มะเร็งเต้านม (3) คัดกรองด้วยวาจาประชาชนสตรีได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก อายุ 30 - 60 ปี (4) อบรมกลุ่มเป้าหมายให้ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ลักษณะ มีส่วนร่วมและเชิญชวนกลุ่มเป้าหมายตรวจมะเร็งปากมดลูก (HPV DNA TEST)  - นัดหมายกำหนดการตรวจมะเร็งปากมดลูก HPV DNA TEST  - ประเมินความรู้โดยการซักถามขณะประชุมกลุ่ม (5) จัดกิจกรรมตรวจมะเร็งปากมดลูก HPV DNA TEST ในกลุ่มเป้าหมายพื้นทีรับผิดชอบ 12  หมู่บ้าน - เมื่อทราบผล ให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน แจ้งผลให้ผู้เข้ารับการตรวจทราบ (6) ส่งกลุ่มเป้าหมายที่พบผลการตรวจผิดปกติ เพื่อรับการวินิจฉัยจากแพทย์ และรักษาตามขั้นตอน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรู้เร็ว รู้ทัน ป้องกันภัย มะเร็งปากมดลูก ปี 2567 จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเฉลา ทัศศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด