กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พิเทน


“ โครงการส่งเสริมและการป้องกันโรคภัยใกล้ตัว ”

ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางแวแย หะมะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและการป้องกันโรคภัยใกล้ตัว

ที่อยู่ ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L02-16 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมและการป้องกันโรคภัยใกล้ตัว จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พิเทน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมและการป้องกันโรคภัยใกล้ตัว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมและการป้องกันโรคภัยใกล้ตัว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L02-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,993.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พิเทน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคภัยใกล้ตัวเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขและเป็นปัญหาซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มของการเกิดโรคสูงขึ้น ไข้หวัด โรคไข้เลือดออก โรคมือเท้าปาก โรคฟันผุ โรคในช่องปาก โรคตาแดงและโรคโควิด-19 ซึ่งกลุ่มเด็กวัยเรียนเป็นกลุ่มที่อ่อนแอและมักประสบกับภาวการณ์แพร่ระบาดของโรค แต่ด้วยการขาดความรู้ความเข้าใจ ในการดูแลตนเองและคนรอบข้างทำให้สถิติการป่วยของนักเรียนมีอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นการสร้างภูมิคุ้มกันในการดูแลตนเอง การป้องกันจากต้นทางของโรคและป้องกันตนเองจากการเป็นพาหะนำโรคสู่ผู้อื่นเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการ เพื่อที่จะสามารถควบคุมหรือจำกัดวงจรการแพร่ระบาดของโรคภัยใกล้ตัวต่างๆได้ ซึ่งเป็นการยากที่จะอาศัยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของรัฐเพียงฝ่ายเดียว การที่จะให้ได้ผลอย่างเต็มที่เต็มประสิทธิภาพจึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรในโรงเรียน นักเรียน ช่วยกันป้องกันโรคดังกล่าวในหลากหลายรูปแบบ เช่น การรณรงค์ การจัดหาสารฆ่าลูกน้ำ การให้ความรู้วิธีการป้องกัน การดูแลตนเอง การปฏิบัติตนเมื่อประสบภัยใกล้ตัว รวมทั้งการกำจัดแหล่งก่อเกิดโรค การใช้วิธีทางธรรมชาติ วิธีที่เหมาะสมกับโรค และสำคัญที่สุดคือการรู้จักป้องกันตนเองเมื่อประสบเหตุ ตลอดจนสามารถเผยแพร่ความรู้สู่ครอบครัว ชุมชน และสังคม ซึ่งเป็นการปลูกฝั่งความรู้ความเข้าใจในการสร้างให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ ให้ความสำคัญกับสุขภาพ การดูแลตัวเองและครอบครัว เพื่อป้องกันการเจ็บป่วยโดยผ่านกระบวนการจัดการโครงการดังกล่าวต่อไป โรงเรียนบ้านพิเทน (วันครู 2502) เล็งเห็นความสำคัญในการสร้างภูมิคุ้มกันแก่นักเรียน ครูและบุคลากรรวมทั้งเผยแพร่เข้าสู่ชุมชน จึงกำหนดให้มีการดำเนินการโครงการรณรงค์และการป้องกันโรคภัยใกล้ตัวขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดโรคภัยใกล้ตัวในโรงเรียน 2. เพื่อรณรงค์และเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคภัยใกล้ตัว 3. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันในการดูแลตนเอง และป้องกันตนเองจากโรคภัยใกล้ตัว 4. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจมีทักษะสามารถใช้ยาสามัญประจำบ้านได้อย่างถูกต้องและไม่เป็น อันตราย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 225
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนและบุคลากรมีความรู้และสามารถเฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่ระบาดโรคภัยใกล้ตัวในโรงเรียนได้
    2. ผู้ปกครอง ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคภัยใกล้ตัวและสามารถป้องกันตนเองและดูแลตนเองเบื้องต้นได้
    3. นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนร่วมกันสร้างภูมิคุ้มกันในการดูแลตนเอง และป้องกันตนเองจากโรคภัยใกล้ตัว
    4. นักเรียนมีมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
    5. นักเรียนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องและเลือกรับประทานอาหารที่ดี มีประโยชน์

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดโรคภัยใกล้ตัวในโรงเรียน 2. เพื่อรณรงค์และเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคภัยใกล้ตัว 3. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันในการดูแลตนเอง และป้องกันตนเองจากโรคภัยใกล้ตัว 4. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจมีทักษะสามารถใช้ยาสามัญประจำบ้านได้อย่างถูกต้องและไม่เป็น อันตราย
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 225
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 225
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดโรคภัยใกล้ตัวในโรงเรียน 2. เพื่อรณรงค์และเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคภัยใกล้ตัว 3. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันในการดูแลตนเอง และป้องกันตนเองจากโรคภัยใกล้ตัว 4. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจมีทักษะสามารถใช้ยาสามัญประจำบ้านได้อย่างถูกต้องและไม่เป็น อันตราย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมและการป้องกันโรคภัยใกล้ตัว จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 67-L02-16

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางแวแย หะมะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด