กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันสูงมีความรู้ ความเข้าใจและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฏิบัติตนที่เหมาะสม เพื่อชะลอภาวการณ์เกิดโรค Ncds. และโรคไตเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันสูงมีความรู้ ความเข้าใจและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฏิบัติตนที่เหมาะสม เพื่อชะลอภาวการณ์เกิดโรค Ncds. และโรคไตเรื้อรัง ร้อยละ 80
40.00 80.00

 

 

 

2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสงสัยป่วยเบาหวานและความดันสูงได้รับการติดตาม และส่งต่อพบแพทย์เพื่อได้รับการวินิจฉัยที่ถูกต้องและได้รักษาทันท่วงที
ตัวชี้วัด : 1.การตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ร้อยละ 70 2.การตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 85
30.00 80.00

 

 

 

3 เพื่อให้กลุ่มป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้ ความเข้าใจและมีพฤติกรรมการปฏิบัติตนที่เหมาะสมเพื่อป้องกันและชะลอการเพิ่มขึ้นของภาวะไตวายเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : 3.1ผู้ป่วยโรคเรื้อรังโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่รับยาที่รพ.สต. สามารถควบคุมความดัน <140/90 mmHg. ร้อยละ 60 3.2.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่รับยาที่รพ.สต. ผลค่า CVD Risk ระดับความเสี่ยงสูง 20- <30% ลดลงน้อยกว่า ร้อยละ 60
40.00 60.00

 

 

 

4 เพื่อให้กลุ่มป่วยโรคเรื้อรังได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน ครอบครัวมีส่วนรวมในการดูแลสุขภาพร่วมกัน
ตัวชี้วัด : 4.การเพิ่มขึ้นของผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายเรื้อรังในชุมชน ลดลง ร้อยละ 40
50.00 40.00