กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมที่ 3. กิจกรรมตรวจสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงหลังเข้ารับการอบรบโครงการ ครั้งที่ 1 1 ม.ค. 2567 1 ม.ค. 2567

 

กิจกรรมตรวจสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงหลังเข้ารับการอบรบโครงการ ครั้งที่ 1 1.ลงทะเบียนเข้าอบรมโครงการ 2.ตรวจสุภาพ ชั่งน้ำหนัก วัดความดัน วัดรอบเอว
3.ชั่งน้ำหนักประเมิน BMI
4.ซักถามพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหาอุปสรรคเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 5.สะท้อนข้อมูลผลการตรวจร่างกายกลับแก้กประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน/ความดัน
6.แจ้งถึงการติดตามการตรวจสุภาพในครั้งต่อไป

 

ผลการตรวจสุภาพกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน/ความดันหลังการอบรมติดตาม 3 ครั้ง ห่างกัน 1 เดือน
ค่าลงพุง ก่อนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ชายจำนวน 13 คน ค่าลงพุงปกติจำนวน 3 คน ภาวะเสี่ยง 10 คน คิดเป็นร้อยละ 43.33 ผู้หญิงจำนวน 37 คน ค่าลงพุงปกติจำนวน 1 คน  ภาวะเสี่ยงจำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 32.43 อันตราย จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 64.86
ผลตรวจสุภาพหลังปรับเปลี่ยนครั้งที่ 1 ผู้ชายมีค่าลงพุงมากที่สุดมีภาวะเสี่ยงจำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 43.33 ผู้หญิงมีค่าลงพุงมากที่สุด อันตราย จำนวน 28 คนคิดเป็นร้อยละ 75.67 รองลงมามีความเสี่ยงจำนวน 8 คน คิด
เป็นร้อยละ 21.62 และค่าลงพุงปกติ จำนวน 1 คน
ผลตรวจสุภาพหลังปรับเปลี่ยนครั้งที่ 2 ผู้ชายมีค่าลงพุงมากที่สุดมีภาวะเสี่ยงจำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 84.61 ผู้หญิงมีค่าลงพุงเพิ่มขึ้น มากที่สุด อันตราย จำนวน 29 คนคิดเป็นร้อยละ 78.37 รองลงมามีความเสี่ยงจำนวน 7
คน คิดเป็นร้อยละ 18.91 และค่าลงพุงปกติ จำนวน 1 คน
ผลตรวจสุภาพหลังปรับเปลี่ยนครั้งที่ 3 ผู้ชายมีค่าลงพุงมากที่สุดมีภาวะเสี่ยงจำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 84.61 ผู้หญิงมีค่าลงพุงเพิ่มขึ้น มากที่สุด อันตราย จำนวน 29 คนคิดเป็นร้อยละ 78.37 รองลงมามีความเสี่ยงจำนวน 7  คน คิดเป็นร้อยละ 18.91 และค่าลงพุงปกติ จำนวน 1 คน
แสดงให้เห็นว่าผู้หญิงมีภาวะความอ้วนและมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆได้ เช่น โรคอ้วน โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานได้มากที่สุด
ค่าBMI ก่อนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันมีค่าน้ำหนักตัวน้อย/ผอมจำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4 มากที่สุดน้ำหนักตัวปกติจำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ36 รองลงมาน้ำหนักเกินมีภาวะเสี่ยงจำนวน 11 ราย คิด
เป็นร้อยละ 22 และมีภาวะอ้วนระดับ 1 จำนวน 10 คนคิดเป็นร้อยละ 20 มีภาวะอ้วนระดับ 2 จำนวน 9 คนคิดเป็นร้อยละ 18
ผลตรวจสุภาพหลังปรับเปลี่ยนครั้งที่1 กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันมีค่าน้ำหนักตัวน้อย/ผอมจำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 6 มากที่สุดน้ำหนักตัวปกติจำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ36 รองลงมาน้ำหนักเกินมีภาวะเสี่ยงจำนวน 8  ราย คิดเป็นร้อยละ 16 และมีภาวะอ้วนระดับ 1 จำนวน 13 คนคิดเป็นร้อยละ 26 มีภาวะอ้วนระดับ 2 จำนวน 8 คนคิดเป็นร้อยละ 16
ผลตรวจสุภาพหลังปรับเปลี่ยนครั้งที่2 กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันมีค่าน้ำหนักตัวน้อย/ผอมจำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4 มากที่สุดน้ำหนักตัวปกติจำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 38 รองลงมาน้ำหนักเกินมีภาวะเสี่ยงจำนวน 8  ราย คิดเป็นร้อยละ 16 และมีภาวะอ้วนระดับ 1 จำนวน 16 คนคิดเป็นร้อยละ 35 มีภาวะอ้วนระดับ 2 จำนวน 5 คนคิดเป็นร้อยละ 10
ผลตรวจสุภาพหลังปรับเปลี่ยนครั้งที่3 กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันมีค่าน้ำหนักตัวน้อย/ผอมจำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4 มากที่สุดน้ำหนักตัวปกติจำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 42 รองลงมาน้ำหนักเกินมีภาวะเสี่ยงจำนวน 7  ราย คิดเป็นร้อยละ 14 และมีภาวะอ้วนระดับ 1 จำนวน 15 คนคิดเป็นร้อยละ 30 มีภาวะอ้วนระดับ 2 จำนวน 5 คนคิดเป็นร้อยละ 10
ดังนั้นกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันมีค่าน้ำหนักตัวอยู่ในเกณฑ์ปกติ เพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 42 รองลงมามีความเสี่ยงภาวะอ้วนระดับ 1 คิดเป็นร้อยละ 30 มีความเสี่ยงน้ำหนักเกิน คิดเป็นร้อยละ 14 มีความเสี่ยงภาวะอ้วนระดับ 2 คิด
เป็นร้อยละ 10 และมีน้ำหนักน้อย/ผอม คิดเป็นร้อยละ 4
ผลปิงปองจราจร 7 สี ก่อนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันมากสุดอยู่ในเกณฑ์เสี่ยงจำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 48 รองลงมากลุ่มสงสัยป่วยระดับ 1 จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 32 เกณฑ์ปกติจำนวน 6 คน คิด
เป็นร้อยละ 12และน้อยสุด กลุ่มสงสัยป่วยระดับ 2 จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 8
ผลตรวจสุภาพหลังปรับเปลี่ยนครั้งที่ 1 กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันมากสุดอยู่ในเกณฑ์เสี่ยงจำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 40 รองลงมา เท่ากัน อยู่ในเกณฑ์ปกติจำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 26 กับกลุ่มสงสัยป่วยระดับ 1  จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 26 และกลุ่มสงสัยป่วยระดับ 2 จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 6  กลุ่มสงสัยป่วยระดับ 3 จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2
ผลตรวจสุภาพหลังปรับเปลี่ยนครั้งที่ 2 กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดัน เท่าเดิม มากสุดอยู่ในเกณฑ์เสี่ยงจำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 46 รองลงมาเกณฑ์ปกติจำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 36 และน้อยสุดกลุ่มสงสัยป่วยระดับ  1 จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 16
ผลตรวจสุภาพหลังปรับเปลี่ยนครั้งที่ 3 กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดัน เพิ่มขึ้น มากสุดอยู่ในเกณฑ์เสี่ยงจำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 48 เกณฑ์เสี่ยงจำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 34 และกลุ่มสงสัยป่วยระดับ 1 ลดลง จำนวน  9 คน คิดเป็นร้อยละ 18.36  ดังนั้นกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พบว่าอยู่ในเกณฑ์ปกติ เพิ่มขึ้น จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 34 มีภาวะเสี่ยงเบาหวาน/ความดัน เท่าเดิม จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 48  และกลุ่มป่วย ลดลง จากเดิม กลุ่มสงสัยป่วยระดับ 1 ( BP140/90-159/99mmHg., FBS 125-159 mm/dl) จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 18 และไม่พบกลุ่มสงสัยป่วยระดับ2, ระดับ 3

 

กิจกรรมที่ 1.จัดประชุมชี้แจงโครงการโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำรพ.สต. แก่อาสาสมัครชุมชน 1 พ.ค. 2567 1 พ.ค. 2567

 

1.จัดประชุมชี้แจ้งโครงการแก่อาสาสมัครสาธารณสุประจำหมู่บ้าน
2.ทบทวนการทำงานที่ผ่านมา ปัญหา/อุปสรรค 3.จัดทำแผนการออกปฏิบัติงานเชิงรุกคัดกรองเบาหวานและความดันสูงในชุมชน

 

1.มีแผนการออกปฏิบัติงานเชิงรุกคัดกรองเบาหวานและความดันสูงในชุมชนชัดเจน 2.อสม.มีการแบ่งหน้าที่ในการปฏิบัติงาน

 

กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับโรค NCDs.และโรคไตเรื้อรัง โดยจัดอบรม 2 วัน โดยแบ่งกลุ่มตามกลุ่มเป้าหมาย 1 มิ.ย. 2567 1 มิ.ย. 2567

 

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการลงทะเบียนตรวจสุขภาพ ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดัน
    2.เปิดโครงการโดยผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองแรตกล่าวความเป็นมาและความสำคัญของโรคติดต่อไม่เรื้อรังNCDโรคไตเรื้อรัง
    3.ฟังการบรรยายความรู้เรื่องโภชนการอาหารแลกเปลี่ยนโดยนักโภชนการ
    4.ฟังการบรรยายความรู้เรื่องการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนโรคจากการใช้ยาเกินความจำเป็นโดยเภสัชจากโรงพยาบาล ซักถาม ตอบคำถามข้อสงสัย
  2. กิจกรรม อ.อารมณ์ ออกกำลังกาย หายใจ ผ่อนคลาย

 

1.ค่าลงพุง ก่อนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ชายจำนวน 13 คน ค่าลงพุงปกติจำนวน 3 คน ภาวะเสี่ยง 10 คน คิดเป็นร้อยละ 43.33 ผู้หญิงจำนวน 37 คน ค่าลงพุงปกติจำนวน 1 คน  ภาวะเสี่ยงจำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 32.43 อันตรายจำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 64.86
2.ค่าBMI ก่อนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันมีค่าน้ำหนักตัวน้อย/ผอมจำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4 มากที่สุดน้ำหนักตัวปกติจำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ36 รองลงมาน้ำหนักเกินมีภาวะเสี่ยงจำนวน 11 ราย คิดเป็นร้อยละ 22 และมีภาวะอ้วนระดับ 1 จำนวน 10 คนคิดเป็นร้อยละ 20 มีภาวะอ้วนระดับ 2 จำนวน 9 คนคิดเป็นร้อยละ 18
3.ปิงปองจราจร 7 สี ก่อนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันมากสุดอยู่ในเกณฑ์เสี่ยงจำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 48 รองลงมากลุ่มสงสัยป่วยระดับ 1 จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 32 เกณฑ์ปกติจำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 12และน้อยสุด กลุ่มสงสัยป่วยระดับ 2 จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 8
4.จำนวนประชากรสงสัยป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจยืนยัน จำนวน 12 คน พบผู้ป่วยรายใหม่ 1 คน คิดเป็นร้อยละ 8.33
5.จำนวนประชากรสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจติดตามเพื่อวินิจฉัยจำนวน 37 คน พบผู้ป่วยรายใหม่ 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.70
6.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่รับยาที่รพ.สตจำนวน 30 คน สามารถควบคุมค่าความดัน 

 

กิจกรรมการเยี่ยมบ้านพร้อมติดตามตรวจสุขภาพกลุ่มประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง และกลุ่มป่วยโรคเรื้อรังที่รับยาที่รพ.สต.ที่มีค่า BP >140/90mmHg 1 มิ.ย. 2567 1 มิ.ย. 2567

 

เจ้าหน้าที่สาธารณสุและอสม.ออกลงเยี่ยมบ้านพร้อมติดตามตรวจสุขภาพกลุ่มประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน และกลุ่มป่วยโรคเรื้อรังเบาหวาน/ความดัน

 

จากการเยี่ยมบ้านส่วนใหญ่ผู้ป่วยมีการรับประทานยาบริหารยาเอง ร้อยละ 85 และมีผู้ดูแลคอยช่วยเหลือบริหารการทานยา ร้อยละ 15 , กลุ่มป่วยโรคเรื้อรังมีหลงลืมทานยาประจำ ร้อยละ 25 และกลุ่มป่วยโรคเรื้อรังที่มาตามนัดทุกครั้งคิดเป็นร้อยละ 95 ปัญหาที่พบ 1.ผิดนัดเพราะไม่มีคนพามา 2.เมื่อมีการทานอาหารสแลงจะหยุดยาเบาหวาน/ความดันเพราะกลัวมึน