กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา


“ โครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก HPV self-samplingทางเลือกใหม่ ลดกลัว ลดอาย ทำได้ด้วยตัวเอง ”



หัวหน้าโครงการ
นายจีรศักดิ์ อัตถเจริญสุข

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก HPV self-samplingทางเลือกใหม่ ลดกลัว ลดอาย ทำได้ด้วยตัวเอง

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3068-10(1)-02 เลขที่ข้อตกลง 02/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก HPV self-samplingทางเลือกใหม่ ลดกลัว ลดอาย ทำได้ด้วยตัวเอง จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก HPV self-samplingทางเลือกใหม่ ลดกลัว ลดอาย ทำได้ด้วยตัวเอง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก HPV self-samplingทางเลือกใหม่ ลดกลัว ลดอาย ทำได้ด้วยตัวเอง " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L3068-10(1)-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,125.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ปัจจุบันโรคมะเร็งถือเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยและมีแนวโน้มอัตราการเกิดโรคสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากสถิติพบว่ามีผู้ป่วยโรคมะเร็งรายใหม่ถึงวันละ 336 คน หรือ 122,757 คนต่อปี โดยโรคมะเร็งที่พบมาก 5 อันดับแรกในคนไทย ได้แก่ มะเร็งตับและท่อน้ำดี มะเร็งปอด มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก และมะเร็งปากมดลูก มีผู้เสียชีวิตวันละ 221 คน หรือคิดเป็น 80,665 คนต่อปีปัญหาดังกล่าวก่อให้เกิดความสูญเสียทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และทางด้านเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก แต่สามารถป้องกันและรักษาให้หายขาดได้ถ้าพบผู้ป่วยโรคมะเร็งในระยะเริ่มแรกดังนั้นถ้าสามารถกระตุ้นให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโรคดังกล่าวพร้อมทั้งตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มแรกก็จะทำให้อัตราการเกิดโรค อัตราการป่วยและอัตราการตายจากโรคมะเร็งฯลดลงกระทรวงสาธารณสุขได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้บรรจุแผนงาน/โครงการเกี่ยวกับโรคดังกล่าวขึ้น โดยกำหนดตัวชี้วัดคือสตรีที่มี อายุระหว่าง 30-60 ปี ได้รับการตรวจ PAP smear ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวา พบว่าจำนวนผู้มารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกของปี 2564 ร้อยละ 10.92 ปี 2565 ร้อยละ 11.45 ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามเป้าหมายที่กำหนด และจากประสบการณ์การทำงานในชุมชนและจากการวิเคราะห์ตามสถานการณ์พบว่า กลุ่มเป้าหมายมีความอาย ความกลัว และปฏิเสธการรับบริการจากเจ้าหน้าที่ที่คุ้นเคยของสถานบริการใกล้บ้าน
สถิติได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโรงพยาบาลส่งเสริมสุภาพตำบลบางตาวา ปี 2566 มีจำนวนผู้เข้าอบรมทั้งหมด 60 คน และมีกลุ่มเป้าหมายรับการตรวจมะเร็งปากมดลูกทั้งหมด 60 คน ไม่พบกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะเสี่ยง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวา ได้ตระหนักดีในบทบาทหน้าที่ในการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคแก่ประชาชน เพื่อที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่ประชาชน และเป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายที่จะต้องดูแลรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง เป็นการสนองตามนโยบายประกันสุขภาพอีกทางหนึ่ง จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกขึ้น ดังนั้น เพื่อการดำเนินงานที่มีประสิทธิผลให้ครอบคลุมเป้าหมายอีกทั้งสร้างความตระหนักถึงความจำเป็นในการควบคุมป้องกันความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูก ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวา จึงจัดทำโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก HPV self-samplingทางเลือกใหม่ ลดกลัว ลดอาย ทำได้ด้วยตัวเอง ขึ้น เพื่อเป็นการตอบสนองนโยบายหลักประกันสุขภาพและส่งเสริมสุขภาพอนามัยในกลุ่มสตรี ดูแลสุขภาพของตนเอง และเป็นการติดตามกลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ได้รับการคัดกรอง เพิ่มความรู้ความเข้าใจและพัฒนาคุณภาพชีวิต รวมถึงลดค่าใช้จ่าย ลดความกลัว ลดความอาย ตลอดจนทรัพยากรที่จะต้องใช้ในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง โดยเน้นการตรวจแบบ HPV self-samplingทำได้ด้วยตนเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแบบ HPV self-sampling
  2. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
  3. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ผลผิดปกติดได้รับการส่งต่อและวินิจฉัยโดยแพทย์ และติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาสัมพันธ์เชิงรุกเกี่ยวกับโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก HPV self-sampling ทางเลือกใหม่ ลดกลัว ลดอาย ทำได้ด้วยตัวเองในพื้นที่ เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้ามายที่มีอายุ 30-60 ปีมารับการตรวจคัดกรอง ทั้ง 2 หมู่บ้าน
  2. จัดประชุมให้ความรู้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 30-60 ปี พร้อมสอนวิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองแบบ HPV self-sampling และการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
  3. กิจกรรมการติดตามและส่งต่อเพื่อการรักษาที่ถูกต้อง
  4. กิจกรรมการติดตามและตรวจซ้ำจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข(กรณีกลุ่มเป้าหมายผิดปกติ)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 55
กลุ่มผู้สูงอายุ 55
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สามารถค้นหาผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก และผู้ป่วยมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก 2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม และเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลและมะเร็งเต้านม 3.ผู้ที่มีผลการตรวจผิดปกติได้รับการส่งต่อและวินิจฉัยโดยแพทย์ และติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่องทันท่วงที 4.สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการสร้างเสริมพฤติกรรมการป้องกันเป็นการสร้างกระแสและให้ความสำคัญในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแบบ HPV self-sampling
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 20 ของสตรีกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแบบ HPV self-sampling
0.00

 

2 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของสตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
0.00

 

3 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ผลผิดปกติดได้รับการส่งต่อและวินิจฉัยโดยแพทย์ และติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของสตรีกลุ่มเป้าหมายที่ผลผิดปกติดได้รับการส่งต่อและวินิจฉัยโดยแพทย์ และติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่อง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 55
กลุ่มผู้สูงอายุ 55
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแบบ HPV self-sampling (2) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ผลผิดปกติดได้รับการส่งต่อและวินิจฉัยโดยแพทย์ และติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์เชิงรุกเกี่ยวกับโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก HPV self-sampling ทางเลือกใหม่ ลดกลัว ลดอาย ทำได้ด้วยตัวเองในพื้นที่ เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้ามายที่มีอายุ 30-60 ปีมารับการตรวจคัดกรอง ทั้ง 2 หมู่บ้าน (2) จัดประชุมให้ความรู้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 30-60 ปี พร้อมสอนวิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองแบบ HPV self-sampling และการตรวจเต้านมด้วยตนเอง (3) กิจกรรมการติดตามและส่งต่อเพื่อการรักษาที่ถูกต้อง (4) กิจกรรมการติดตามและตรวจซ้ำจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข(กรณีกลุ่มเป้าหมายผิดปกติ)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก HPV self-samplingทางเลือกใหม่ ลดกลัว ลดอาย ทำได้ด้วยตัวเอง จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3068-10(1)-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายจีรศักดิ์ อัตถเจริญสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด