directions_run
โครงการแก้ปัญหาทุพโภชนาการเด็กอายุ 0-5 ปี
ชื่อโครงการ | โครงการแก้ปัญหาทุพโภชนาการเด็กอายุ 0-5 ปี |
รหัสโครงการ | 67-L4153-1-03 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลรามัน |
วันที่อนุมัติ | 25 ธันวาคม 2566 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2567 - 16 กันยายน 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 16 กันยายน 2567 |
งบประมาณ | 20,300.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวชาลิสา บือโต |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.476,101.413place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 มี.ค. 2567 | 16 ก.ย. 2567 | 20,300.00 | |||
รวมงบประมาณ | 20,300.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนเป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาประเทศ กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาวะ ทั้งมิติทางกายใจ สังคม และปัญญา โดยเริ่มจากวัยต้นของเดือน คือเด็ดอายุ 0-5 ปี ซึ่งเป็นวัยที่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการพัฒนาอย่า | 42.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก และ อสม.มีความรู้ ความเข้าใจและเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวังทางโภชนาการและแก้ปัญหาทุพโภชนาการในเด็ก 0 – 5 ปี (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์) 2.เพื่อเป็นการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ด้านสาธารณสุข ตัวชี้วัด เด็กอายุ 0 – 5 ปี สูงดีสมส่วน 1.ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก และ อสม.มีความรู้ ความเข้าใจและเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวังทางโภชนาการและแก้ปัญหาทุพโภชนาการในเด็ก 0 – 5 ปี (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์) เพิ่มขึ้นร้อยละ 90 2.เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการต่ำมีน้ำหนักเพิ่มขึ้น ร้อยละ 50 |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | มี.ค. 67 | เม.ย. 67 | พ.ค. 67 | มิ.ย. 67 | ก.ค. 67 | ส.ค. 67 | ก.ย. 67 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อบรมให้ความรู้(1 มี.ค. 2567-16 ก.ย. 2567) | 0.00 | |||||||
2 | ติดตามชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูงเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ(1 มี.ค. 2567-16 ก.ย. 2567) | 0.00 | |||||||
รวม | 0.00 |
1 อบรมให้ความรู้ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0.00 | 1 | 9,800.00 | -9,800.00 | |
12 ก.ค. 67 | กิจกรรมอบรมให้ความรู้ | 0 | 0.00 | ✔ | 9,800.00 | -9,800.00 | |
2 ติดตามชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูงเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0.00 | 1 | 10,500.00 | -10,500.00 | |
12 ก.ค. 67 | ติดตามชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูงเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ | 0 | 0.00 | ✔ | 10,500.00 | -10,500.00 | |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 2 | 20,300.00 | -20,300.00 |
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 ม.ค. 2567 11:06 น.
project version 4.4.01 release 2022-02-13. ช่วยเหลือ