แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)
กิจกรรม | ระยะเวลา | เป้าหมาย/วิธีการ | ผลการดำเนินงาน | ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ||
อบรมให้ความรู้ | 1 มี.ค. 2567 |
|
|
|
|
|
|
ติดตามชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูงเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ | 1 มี.ค. 2567 |
|
|
|
|
|
|
กิจกรรมอบรมให้ความรู้ | 12 ก.ค. 2567 | 12 ก.ค. 2567 |
|
1.ดำเนินการอบรมให้ความรู้เรื่องความสำคัญของการเฝ้าระวังทางโภชนาการและแก้ปัญหาทุพโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์) แก่ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก และ อสม. จำนวน 50 คน 2.สาธิตการทำอาหารเสริมเมนูง่ายๆสำหรับเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนา (เมนูเพิ่มน้ำหนัก) 3.ประเมินความรู้ความเข้าใจ Pre-test และ Post-test 3.ติดตามผลการดำเนินงาน 4.สรุปรายงานหลังเสร็จสิ้นโครงการ/รายงานผลการดำเนินงานโครงการต่อคณะกรรมการกองทุนสุขภาพ |
|
จัดอบรมให้ความรู้เรื่องความสำคัญของการเฝ้าระวังทางโภชนาการและแก้ปัญหาทุพโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์) แก่ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก จำนวน 30 คน ในวันที่ 12 เดือน กรกฎาคม 2567 เวลา 08.30-16.30 น. ณ.ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลกายูบอเกาะ พร้อมสาธิตการทำอาหารเสริมเมนูง่ายๆ สำหรับเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการ (เมนูเพิ่มน้ำหนัก) มีการแบ่งกลุ่มของผู้ปกครองออกเป็น 3 กลุ่ม แข่งขันการทำอาหารปละนำเสนอเกี่ยวกับคุณประโยชน์ของอาหาร กิจกรรมนี้ได้รับความสนใจและให้ความร่วมมือจากผู้ปกครองเป็นอย่างดี มีความสนุกสนานในการประกอบอาหาร มีการประเมินความรู้ก่อนและหลังการอบรม หลังจากการอบรมให้ความรู้ พบว่า ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก และ อสม.ที่ผ่านการอบรม มีความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของการเฝ้าระวังทางโภชนาการและแก้ปัญหาทุพโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์) เพิ่มขึ้นร้อยละ 98 |
|
ติดตามชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูงเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ | 12 ก.ค. 2567 | 12 ก.ค. 2567 |
|
ติดตามชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูงเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 30 คน โดยการจัดซื้อเครื่องชั่งน้ำหนักแบบเข็ม จำนวน 30 คน โดยการจัดซื้อเครื่องชั่งน้ำหนักแบบเข็มจำนวน 15 เครื่อง โดยให้ อสม.ที่รับผิดชอบเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ แต่ละชุมชนไปติดตามชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทุก 3 เดือน ได้แก่ ม.2 ชุมขนตะโล๊ะ ชุมชนบาโร๊ะเปาะมง ชุมชนกูแม ชุมชนตอแล ม.3 ชุมชนบือยอง ชุมชนพงจือนือเร๊ะ ชุมชนกาตอง ชุมชนตะโละดือเล ม.4 ชุมชนปอเนาะ ชุมชนกายูบอเกาะ ชุมชนพอแม็ง ม.5 ชุมชนตอปือแก ชุมชนบาลาสมีแล ชุมชนฮูยงบาโร๊ะ รวมทั้งสิ้น 15 ชุมชน และมี อสม.ทั้งหมด 35 คน |
|
มีการประเมินติดตามเยี่ยมบ้านโดย อสม.ทุก 3 เดือน มีการชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูงเด็ก พร้อมทั้งร่วมกันประเมินภาวะโภชนาการรน่วมกับผู้ปกครองในสมุดสีชมพู พูดคุยให้คำแนะนำปัญหาเกี่ยวกับการรับประทานอาหารเสริมของเด็กแต่ละคน หลังจากการจัดโครงการฯ พบว่า เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการต่ำมีน้ำหนักเพิ่มขึ้น ร้อยละ 55.3 ซึ่งถือว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ |
|