กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการสวยหล่อไม่ขอเสี่ยง ปี 2567 (Immunity of life) ”

ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายดานิช ดิงปาเนาะ

ชื่อโครงการ โครงการสวยหล่อไม่ขอเสี่ยง ปี 2567 (Immunity of life)

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2480-1-04 เลขที่ข้อตกลง 14/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสวยหล่อไม่ขอเสี่ยง ปี 2567 (Immunity of life) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสวยหล่อไม่ขอเสี่ยง ปี 2567 (Immunity of life)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสวยหล่อไม่ขอเสี่ยง ปี 2567 (Immunity of life) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2480-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,085.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เยาวชน คืออนาคตของชาติ ปัจจุบันสังคมไทยกําลังประสบปัญหาวิกฤต จากสถานการณ์ปัญหาของวัยรุ่น อาทิเช่นปัญหายาเสพติด และปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ตลอดจนปัญหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ที่ได้เริ่มแพร่ระบาดและกําลังทวีความรุนแรงมากขึ้นอย่างน่าวิตก การหวนกลับมาระบาดอย่างหนักของยาเสพติด ในปัจจุบัน เป็นผลให้เยาวชนหลงผิดเข้าสู่วงจรการซื้อขาย และเสพยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น ซึ่ง เป็นอุปสรรคสําคัญ ในการพัฒนาประเทศ และเป็นการทําลายทรัพยากรบุคคลซึ่งเป็นอนาคตและเป็นพลังในการพัฒนาประเทศ ให้ด้อย คุณภาพ อันจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ และเป็นภาระงบประมาณของประเทศในการบําบัดรักษาผู้ป่วยที่เกิดจากการเสพยาเสพ ติด อีกทั้งยังเป็นปัญหาที่สร้างความรู้สึกสะเทือนใจและเจ็บปวดให้กับพ่อแม่ผู้ปกครอง และปัญหายาเสพติดได้นํามาซึ่งความรุนแรงใน ครอบครัวและอาชญากรรมต่างๆในสังคม เช่น การลักขโมย ฉกชิงวิ่งราวและการก่อปัญหาอาชญากรรมอื่นๆ ตามมาอีกมากมาย ซึ่งทําให้มี ผลกระทบต่อสังคมโดยรวม ซึ่งปัจจุบันนี้รัฐบาลได้กําหนดให้การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เป็นวาระแห่งชาติ และกําหนดยุทธศาสตร์ พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดเพื่อให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ยึดเป็นหลักในการขับเคลื่อนงานยาเสพติด ในส่วนของปัญหาการตั้งครรภ์ไม่ พร้อม จากข้อมูลสถิติสาธารณสุขล่าสุดพบว่าอัตราการคลอดในกลุ่มอายุ 15-19 ปี โดยปี2564 อยู่ที่ 25 ต่อ 1,000 ประชากร ปี 2563 อยู่ที่ 28.7 ต่อ 1,000 ประชากร ปี 2562 อยู่ที่ 31 ต่อ 1,000 ปะชากร ขณะที่กลุ่มอายุ 10-14 ปี อยู่ที่ 0.9 ต่อ 1,000 ประชากร ส่วนอัตราการ คลอดซ้ําปี 2563 ลดเหลือ 8.1 % จากปี 2562 อยู่ที่ 8.5 % นอกจากนี้เราพบว่าในกล่มที่ตั้งท้องไม่พร้อมนั้นยังสามารถอยู่ในระบบการศึกษา ในโรงเรียนปี 2564 อยู่ที่ 47.5 % เพิ่มจากปี 2563 อยู่ที่ 28 % และที่สําคัญคือมีแนวโน้มเรียนในสถานศึกษาเดิมมีแนวโน้มสูงขึ้นด้วย สําหรับ สถานการณ์ของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในปัจจุบันมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคซิฟิลิสในกลุ่มอายุ 15-24 ปี โดยในปี 2559- 2563 เท่ากับ 13.7, 20.2, 27.9, 41.4 และ 50.4 ต่อประชากรแสนคน และสถานการณ์โรคหนองใน ในกลุ่มอายุ 15-24 ปี ปี 2559-2563 เท่ากับ 59.3, 68.1, 63.7, 69.7 และ 58.8 ต่อประชากรแสนคน ตามลําดับ ซึ่งผู้ป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์มีโอกาสการติดเชื้อเอชไอวี มากกว่าผู้ที่ไม่ได้ป่วยถึง 5-9 เท่า โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบ้านปิเหล็ง ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว และเห็นว่าโครงการสวยหล่อไม่ขอเสี่ยงมีความสําคัญและ ควรจัดให้เยาวชนมีทางออกที่ไม่ต้องเสี่ยงต่อปัญหาดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันเกี่ยวกับปัญหาภัยสุขภาพใน กลุ่มนักเรียนและวัยรุ่นในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรม“อบรมเชิงปฏิบัติการการเรียนรู้ แบบสร้างประสบการณ์ในกลุ่มวัยรุ่นใน ชุมชน”
  2. 2.กิจกรรม“อบรมเชิงปฏิบัติการการเรียนรู้ แบบสร้างประสบการณ์ในกลุ่มนักเรียน”

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 115
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.วัยรุ่นมีภูมิคุ้มกันชีวิตในการดําเนินชีวิตในสังคม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันเกี่ยวกับปัญหาภัยสุขภาพใน กลุ่มนักเรียนและวัยรุ่นในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของเป้าหมายมีระดับความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตน ในเรื่องการป้องกันยาเสพติด หลังการเข้าร่วมกิจกรรมอยู่ในระดับดี 2.ร้อยละ 80 ของเป้าหมายมีระดับความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตน ในเรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม หลังการเข้าร่วมกิจกรรมอยู่ใน ระดับดี 3.ร้อยละ 80 ของเป้าหมายมีระดับความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตน ในเรื่องการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์หลังการเข้าร่วมกิจกรรม อยู่ในระดับดี
80.00 40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 115
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 115
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันเกี่ยวกับปัญหาภัยสุขภาพใน กลุ่มนักเรียนและวัยรุ่นในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรม“อบรมเชิงปฏิบัติการการเรียนรู้ แบบสร้างประสบการณ์ในกลุ่มวัยรุ่นใน ชุมชน” (2) 2.กิจกรรม“อบรมเชิงปฏิบัติการการเรียนรู้ แบบสร้างประสบการณ์ในกลุ่มนักเรียน”

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสวยหล่อไม่ขอเสี่ยง ปี 2567 (Immunity of life) จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2480-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายดานิช ดิงปาเนาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด