กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง


“ รำวงย้อนยุคสร้างสุขภาพ โคกดีปลี ปี 67 ”

หมู่ที่ 3 บ้านโคกดีปลี ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางจินดา อยู่ทองดี

ชื่อโครงการ รำวงย้อนยุคสร้างสุขภาพ โคกดีปลี ปี 67

ที่อยู่ หมู่ที่ 3 บ้านโคกดีปลี ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3065-2-13 เลขที่ข้อตกลง 15/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"รำวงย้อนยุคสร้างสุขภาพ โคกดีปลี ปี 67 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 3 บ้านโคกดีปลี ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
รำวงย้อนยุคสร้างสุขภาพ โคกดีปลี ปี 67



บทคัดย่อ

โครงการ " รำวงย้อนยุคสร้างสุขภาพ โคกดีปลี ปี 67 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 3 บ้านโคกดีปลี ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3065-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันวิถีชีวิตของประชาชนในพื้นที่เปลี่ยนไปจากอดีตจากวิถีชีวิตแบบชนบทที่มีกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่อง มีการออกกำลังกายในทุกวัน เปลี่ยนมาเป็นวิถีชีวิตกึ่งเมืองที่มีกิจกรรมทางกายน้อยลงไปมากจากอดีต เห็นได้ชัดเจนจากลัษณะการประกอบอาชีพ การทำงาน ทำให้วิถีชีวิตของประชาชนในพื้นที่ต้องเร่งรีบและแข่งขันตามกลไกเศรษฐกิจ แต่ในความเจริญนั้นก่อให้เกิดปัญหาต่างๆเกิดขึ้นด้วย ไม่ว่าจะเป็นปัญหา สุขภาพทั้งร่างกาย จิตใจ ประกอบกับมลภาวะทางสิ่งแวดล้อมที่เพิ่มขึ้น แต่เวลาในการดูแลสุขภาพของตนเองกลับน้อยลง เกิดปัญหาด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น เช่น คนในพื้นที่ที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไปพบว่ามีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคความดัน เบาหวาน โรคอ้วนเพิ่มขึ้น(ข้อมูลจากการคัดกรองของ อสม.ในพื้นที่) นอกจากนี้แล้วพบว่าในเด็กและเยาวชน ก็มีโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภค โรคอ้วนเพิ่มขึ้นด้วย
การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในพื้นที่ การพูดคุย สร้างความตระหนักด้านสุขภาพ เป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องทำให้คนในพื้นที่มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงห่างไกลจากโรคโดยเฉพาะโรคเรื้อรัง เช่น ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ไขมันในเส้นเลือด ฯลฯ ทางชมรมรำวงย้อนยุคบ้านโคกดีปลี หมู่ที่ 3 ตำบลตุยง เป็นชมรมที่มีกิจกรรมเในการสร้างสุขภาพของคนในพื้นที่ ได้จัดทำโครงการใส่ใจสุขภาพด้วยรำวงย้อนยุค บ้านโคกดีปลี ปี 67 เพื่อเป็นเครื่องมือให้คนในชุมชนได้ร่วมทำกิจกรรมที่ดีต่อสุขภาพ บูรณาการร่วมกับการอนุรักษ์กิจกรรมประเพณีอันดีงามที่มีนับวันจะหาดูได้ยาก ส่งเสริมให้ประชาชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สร้างความสุขให้แก่สมาชิกชมรมและผู้เข้าร่วมกิจกรรม จึงขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์กรบริหาารส่วนตำบลตุยง เพื่อมาใช้ในการจัดทำกิจกรรม และสนับสนุนเพื่อให้การจัดกิจกรรมต่างๆเป็นไปอย่างต่อเนื่อง และส่งเสริมให้ประชาชนในหมู่บ้าน และพื้นที่ใกล้เคียง เห็นความสำคัญของกิจกรรมการกคลื่อนไหวทางกายในรูปแบบเชิงบูรณาการร่วมกับประเพณี วัฒนธรรมในพื้นที่ เพื่อให้มีสุขภาพร่างกาย จิตใจที่ดี สร้างความสามัคคีในชุมชน เกิดเป็นภาคีเครือข่ายสร้างสุขภาพในพื้นที่ และเป็นการอนุรักษ์กิจกรรมที่ดีให้เยาวชนรุ่นหลังได้มีการสืบทอดต่อไป จึงได้จัดทำโครงการรำวงย้อนยุคสร้างสุขภาพ โคกดีปลี ปี 67 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกชมรม ประชาชนมีกิจกรรมเคลื่อนไหวทางร่างกาย ขยับกาย มีสุขภาพจิตและกายที่ดี
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพชมรมในการส่งเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ส่งเสริมการมีส่วนร่วม
  2. เฝ้าระวังป้องกันโรคเรื้อรัง
  3. พัฒนาศักยภาพองค์ความรู้
  4. ส่งเสริมกิจกรรมเคลื่อนไหวทางกาย
  5. สรุปผลดารดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 148
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงรู้การออกกำลังกายได้อย่างถูกต้องและถูกวิธีและนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้อง
  2. ผู้สูงอายุและคนในชุมชนเกิดความตระหนักตื่นตัวในการออกกำลังกายในชุมชน
  3. ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในผู้สูงอายุและผู้มีความเสี่ยง
  4. สมาชิกชมรม ประชาชนมีกิจกรรมเคลื่อนไหวทางร่างกาย ขยับกาย มีสุขภาพจิตและกายที่ดี อย่างต่อเนื่อง
  5. มีการพัฒนาศักยภาพชมรมในการส่งเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกชมรม ประชาชนมีกิจกรรมเคลื่อนไหวทางร่างกาย ขยับกาย มีสุขภาพจิตและกายที่ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของสมาชิกชมรม ประชาชนทั่วไป มีกิจกรรมเคลื่อนไหวทางกายอย่างต่อเนื่อง
228.00 137.00

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพชมรมในการส่งเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ชมรมมีการพัฒนาและมีกิจกรรมต่อเนื่องทุกๆปี
1.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 228
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 148
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกชมรม ประชาชนมีกิจกรรมเคลื่อนไหวทางร่างกาย ขยับกาย มีสุขภาพจิตและกายที่ดี (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพชมรมในการส่งเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่งเสริมการมีส่วนร่วม (2) เฝ้าระวังป้องกันโรคเรื้อรัง (3) พัฒนาศักยภาพองค์ความรู้ (4) ส่งเสริมกิจกรรมเคลื่อนไหวทางกาย (5) สรุปผลดารดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


รำวงย้อนยุคสร้างสุขภาพ โคกดีปลี ปี 67 จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3065-2-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจินดา อยู่ทองดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด