โครงการสูงวัยอย่างมีคุณค่า สู่วัยชราอย่างมีความสุข (โรงเรียนผู้สูงอายุ)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสูงวัยอย่างมีคุณค่า สู่วัยชราอย่างมีความสุข (โรงเรียนผู้สูงอายุ) ”
ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายแวมะการิง กูโนะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการสูงวัยอย่างมีคุณค่า สู่วัยชราอย่างมีความสุข (โรงเรียนผู้สูงอายุ)
ที่อยู่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L3066-03-19 เลขที่ข้อตกลง 17/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสูงวัยอย่างมีคุณค่า สู่วัยชราอย่างมีความสุข (โรงเรียนผู้สูงอายุ) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสูงวัยอย่างมีคุณค่า สู่วัยชราอย่างมีความสุข (โรงเรียนผู้สูงอายุ)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสูงวัยอย่างมีคุณค่า สู่วัยชราอย่างมีความสุข (โรงเรียนผู้สูงอายุ) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3066-03-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุเป็นบุคคลที่สถาบันครอบครัวไทยให้การเคารพยกย่องมากที่สุด เพราะเป็นบุคคลที่มีประสบการณ์ในชีวิตสูง เป็นผู้ถ่ายทอดความสามารถประเพณี วัฒนธรรมและค้ำจุนจิตใจให้แก่บุคคลในครอบครัว ชุมชน และสังคม ได้อย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด แต่ผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยจะสูญเสียความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันความสามารถเสื่อมถอย ต้องอาศัยญาติและครอบครัวคอยดูแล ทำให้เป็นภาระ ผลกระทบต่อภาวะทุพพลภาพในผู้สูงอายุเกิดจากกระบวนการการสูงวัยและโรคต่าง ๆมากมายทำให้เกิดปัญหา ทั้งด้านสุขภาพ กาย สุขภาพจิต เศรษฐกิจ สังคม ปัญหาเกี่ยวกับครอบคัว และปัญหา ค่านิยมที่เปลี่ยนแปลง เป็นกลุ่มประชากรที่ใช้บริการสุขภาพสูงกว่าวัยอื่นๆ และจะต้องใช้จ่ายงบประมาณของประเทศในด้านการรักษาพยาบาลสูง การได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ และการออกกำลังกายอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอจะสามารถป้องกันและแก้ไขภาวะผิดปกติที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบกล้ามเนื้อและกระดูก ปัญหาสุขภาพร่างกายรวมทั้งปัญหาสุขภาพจิต ช่วยให้อายุยืนยาวขึ้น และมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบรูณ์แข็งแรง
ในเขตพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลท่ากำชำ มีผู้สูงอายุที่มีสิทธิรับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567จำนวน 677 คน ดังนั้นเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการแก้ปัญหาดังกล่าวและเป็นประเด็นที่ถูกหยิบยกขึ้นมาคุยกันถึงปัญหาโรคซึมเศร้าของผู้สูงอายุโดยเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น ถูกทอดทิ้งให้อยู่ตามลำพังมีภาระค่าใช้จ่ายสูง ฐานะยากจน และขาดโอกาสจนส่งผลนำไปสู่การทำร้ายตัวเองในที่สุดโรงเรียนผู้สูงอายุจึงทำหน้าที่เหมือนสวนสาธารณะทางอารมณ์ที่จะเอาความเหงาความเศร้าความทุกข์มาปลอดปล่อยและมารับรอยยิ้มจากเพื่อนเช่นเดียวกันและบางครั้งผู้สูงอายุต้องการกำลังใจต้องการความอบอุ่น ต้องการพูดคุย ทางชมรมผู้สูงอายุและผู้พิการตำบลท่ากำชำจึงได้เห็นฟ้องต้องกันว่าควรที่จะมีสถานที่ให้ผู้สูงอายุได้พบปะกัน จึงได้จัดทำกิจกรรมผู้สูงอายุ สูงวัยอย่างมีคุณค่า สู่วัยชราอย่างมีความสุข (โรงเรียนผู้สูงอายุ) ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้อย่างต่อเนื่องในการดูแลสุขภาพกายและจิตใจ
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสร้างสรรค์ประโยชน์แก่ชุมชนและสังคม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เปิดโรงเรียน ชี้แจงวัตถุประสงค์และ กิจกรรมให้ความรู้ เรื่อง กฎหมายและสิทธิประโยชน์ของผู้สูงอายุ การใช้ชีวิตในวัยผู้สูงอายุ
- กิจกรรม ให้ความรู้ โรคซึมเศร้า การดูแลสุขภาพ (ประเมินคัดกรองภาวะซึมเศร้า)
- กิจกรรมให้ความรู้ การจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอาการดูแลผู้สูงอายุภาวะพึ่งพิง (ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง)
- กิจกรรมให้ความรู้ คุณประโยชน์สมุนไพรไทย การทำยาหม่อง สมุนไพร (สาธิต/สอน/ฝึกปฏิบัติ
- กิจกรรมให้ความรู้ และปฏิบัติ การทำไข่เค็มสมุนไพร
- กิจกรรมให้ความรู้ โรคที่พบมากที่สุดในวัยผู้สูงอายุ ข้อควรระวังในการใช้ยา
- กิจกรรม การฝึกอาชีพเพื่อเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย การฝึกทำน้ำยาล้างจาน
- กิจกรรมให้ความรู้ การดูแลสุขภาพและโภชนาการในผู้สูงอายุ การออกกำลังกายอย่างไรให้มีสุขภาพแข็งแรง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
25
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุห่วงใยไม่ทอดทิ้งกันมีการรวมกลุ่มช่วยเหลือกันและกัน
2.สูงอายุสุขภาพแข็งแรงอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข อายุยืนเกิน 80 ปี
3.สูงอายุมีความสุข มีรอยยิ้ม มีกำลังใจไม่เป็นโรคซึมเศร้า และสุขภาพดี มีรายได้เพิ่ม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้อย่างต่อเนื่องในการดูแลสุขภาพกายและจิตใจ
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสร้างสรรค์ประโยชน์แก่ชุมชนและสังคม
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
25
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
25
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้อย่างต่อเนื่องในการดูแลสุขภาพกายและจิตใจ (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสร้างสรรค์ประโยชน์แก่ชุมชนและสังคม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เปิดโรงเรียน ชี้แจงวัตถุประสงค์และ กิจกรรมให้ความรู้ เรื่อง กฎหมายและสิทธิประโยชน์ของผู้สูงอายุ การใช้ชีวิตในวัยผู้สูงอายุ (2) กิจกรรม ให้ความรู้ โรคซึมเศร้า การดูแลสุขภาพ (ประเมินคัดกรองภาวะซึมเศร้า) (3) กิจกรรมให้ความรู้ การจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอาการดูแลผู้สูงอายุภาวะพึ่งพิง (ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง) (4) กิจกรรมให้ความรู้ คุณประโยชน์สมุนไพรไทย การทำยาหม่อง สมุนไพร (สาธิต/สอน/ฝึกปฏิบัติ (5) กิจกรรมให้ความรู้ และปฏิบัติ การทำไข่เค็มสมุนไพร (6) กิจกรรมให้ความรู้ โรคที่พบมากที่สุดในวัยผู้สูงอายุ ข้อควรระวังในการใช้ยา (7) กิจกรรม การฝึกอาชีพเพื่อเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย การฝึกทำน้ำยาล้างจาน (8) กิจกรรมให้ความรู้ การดูแลสุขภาพและโภชนาการในผู้สูงอายุ การออกกำลังกายอย่างไรให้มีสุขภาพแข็งแรง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสูงวัยอย่างมีคุณค่า สู่วัยชราอย่างมีความสุข (โรงเรียนผู้สูงอายุ) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L3066-03-19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายแวมะการิง กูโนะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสูงวัยอย่างมีคุณค่า สู่วัยชราอย่างมีความสุข (โรงเรียนผู้สูงอายุ) ”
ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายแวมะการิง กูโนะ
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L3066-03-19 เลขที่ข้อตกลง 17/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสูงวัยอย่างมีคุณค่า สู่วัยชราอย่างมีความสุข (โรงเรียนผู้สูงอายุ) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสูงวัยอย่างมีคุณค่า สู่วัยชราอย่างมีความสุข (โรงเรียนผู้สูงอายุ)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสูงวัยอย่างมีคุณค่า สู่วัยชราอย่างมีความสุข (โรงเรียนผู้สูงอายุ) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3066-03-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุเป็นบุคคลที่สถาบันครอบครัวไทยให้การเคารพยกย่องมากที่สุด เพราะเป็นบุคคลที่มีประสบการณ์ในชีวิตสูง เป็นผู้ถ่ายทอดความสามารถประเพณี วัฒนธรรมและค้ำจุนจิตใจให้แก่บุคคลในครอบครัว ชุมชน และสังคม ได้อย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด แต่ผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยจะสูญเสียความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันความสามารถเสื่อมถอย ต้องอาศัยญาติและครอบครัวคอยดูแล ทำให้เป็นภาระ ผลกระทบต่อภาวะทุพพลภาพในผู้สูงอายุเกิดจากกระบวนการการสูงวัยและโรคต่าง ๆมากมายทำให้เกิดปัญหา ทั้งด้านสุขภาพ กาย สุขภาพจิต เศรษฐกิจ สังคม ปัญหาเกี่ยวกับครอบคัว และปัญหา ค่านิยมที่เปลี่ยนแปลง เป็นกลุ่มประชากรที่ใช้บริการสุขภาพสูงกว่าวัยอื่นๆ และจะต้องใช้จ่ายงบประมาณของประเทศในด้านการรักษาพยาบาลสูง การได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ และการออกกำลังกายอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอจะสามารถป้องกันและแก้ไขภาวะผิดปกติที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบกล้ามเนื้อและกระดูก ปัญหาสุขภาพร่างกายรวมทั้งปัญหาสุขภาพจิต ช่วยให้อายุยืนยาวขึ้น และมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบรูณ์แข็งแรง ในเขตพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลท่ากำชำ มีผู้สูงอายุที่มีสิทธิรับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567จำนวน 677 คน ดังนั้นเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการแก้ปัญหาดังกล่าวและเป็นประเด็นที่ถูกหยิบยกขึ้นมาคุยกันถึงปัญหาโรคซึมเศร้าของผู้สูงอายุโดยเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น ถูกทอดทิ้งให้อยู่ตามลำพังมีภาระค่าใช้จ่ายสูง ฐานะยากจน และขาดโอกาสจนส่งผลนำไปสู่การทำร้ายตัวเองในที่สุดโรงเรียนผู้สูงอายุจึงทำหน้าที่เหมือนสวนสาธารณะทางอารมณ์ที่จะเอาความเหงาความเศร้าความทุกข์มาปลอดปล่อยและมารับรอยยิ้มจากเพื่อนเช่นเดียวกันและบางครั้งผู้สูงอายุต้องการกำลังใจต้องการความอบอุ่น ต้องการพูดคุย ทางชมรมผู้สูงอายุและผู้พิการตำบลท่ากำชำจึงได้เห็นฟ้องต้องกันว่าควรที่จะมีสถานที่ให้ผู้สูงอายุได้พบปะกัน จึงได้จัดทำกิจกรรมผู้สูงอายุ สูงวัยอย่างมีคุณค่า สู่วัยชราอย่างมีความสุข (โรงเรียนผู้สูงอายุ) ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้อย่างต่อเนื่องในการดูแลสุขภาพกายและจิตใจ
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสร้างสรรค์ประโยชน์แก่ชุมชนและสังคม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เปิดโรงเรียน ชี้แจงวัตถุประสงค์และ กิจกรรมให้ความรู้ เรื่อง กฎหมายและสิทธิประโยชน์ของผู้สูงอายุ การใช้ชีวิตในวัยผู้สูงอายุ
- กิจกรรม ให้ความรู้ โรคซึมเศร้า การดูแลสุขภาพ (ประเมินคัดกรองภาวะซึมเศร้า)
- กิจกรรมให้ความรู้ การจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอาการดูแลผู้สูงอายุภาวะพึ่งพิง (ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง)
- กิจกรรมให้ความรู้ คุณประโยชน์สมุนไพรไทย การทำยาหม่อง สมุนไพร (สาธิต/สอน/ฝึกปฏิบัติ
- กิจกรรมให้ความรู้ และปฏิบัติ การทำไข่เค็มสมุนไพร
- กิจกรรมให้ความรู้ โรคที่พบมากที่สุดในวัยผู้สูงอายุ ข้อควรระวังในการใช้ยา
- กิจกรรม การฝึกอาชีพเพื่อเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย การฝึกทำน้ำยาล้างจาน
- กิจกรรมให้ความรู้ การดูแลสุขภาพและโภชนาการในผู้สูงอายุ การออกกำลังกายอย่างไรให้มีสุขภาพแข็งแรง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 25 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุห่วงใยไม่ทอดทิ้งกันมีการรวมกลุ่มช่วยเหลือกันและกัน 2.สูงอายุสุขภาพแข็งแรงอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข อายุยืนเกิน 80 ปี 3.สูงอายุมีความสุข มีรอยยิ้ม มีกำลังใจไม่เป็นโรคซึมเศร้า และสุขภาพดี มีรายได้เพิ่ม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้อย่างต่อเนื่องในการดูแลสุขภาพกายและจิตใจ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสร้างสรรค์ประโยชน์แก่ชุมชนและสังคม ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 25 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 25 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้อย่างต่อเนื่องในการดูแลสุขภาพกายและจิตใจ (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสร้างสรรค์ประโยชน์แก่ชุมชนและสังคม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เปิดโรงเรียน ชี้แจงวัตถุประสงค์และ กิจกรรมให้ความรู้ เรื่อง กฎหมายและสิทธิประโยชน์ของผู้สูงอายุ การใช้ชีวิตในวัยผู้สูงอายุ (2) กิจกรรม ให้ความรู้ โรคซึมเศร้า การดูแลสุขภาพ (ประเมินคัดกรองภาวะซึมเศร้า) (3) กิจกรรมให้ความรู้ การจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอาการดูแลผู้สูงอายุภาวะพึ่งพิง (ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง) (4) กิจกรรมให้ความรู้ คุณประโยชน์สมุนไพรไทย การทำยาหม่อง สมุนไพร (สาธิต/สอน/ฝึกปฏิบัติ (5) กิจกรรมให้ความรู้ และปฏิบัติ การทำไข่เค็มสมุนไพร (6) กิจกรรมให้ความรู้ โรคที่พบมากที่สุดในวัยผู้สูงอายุ ข้อควรระวังในการใช้ยา (7) กิจกรรม การฝึกอาชีพเพื่อเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย การฝึกทำน้ำยาล้างจาน (8) กิจกรรมให้ความรู้ การดูแลสุขภาพและโภชนาการในผู้สูงอายุ การออกกำลังกายอย่างไรให้มีสุขภาพแข็งแรง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสูงวัยอย่างมีคุณค่า สู่วัยชราอย่างมีความสุข (โรงเรียนผู้สูงอายุ) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L3066-03-19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายแวมะการิง กูโนะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......