กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมจัดหาอาหารที่มีประโยชน์ต่อเด็กน้ำหนักค่อนข้างน้อยและน้อยกว่าเกณฑ์ตามหลักโภชนาการ30 มกราคม 2561
30
มกราคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย อบต.ปูโยะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ขั้นดำเนินการ
1. ประชุมชี้แจงอาสาสมัครสาธารณสุขเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการ 2. รณรงค์การชั่งน้ำหนัก  วัดส่วนสูง  และประเมินพัฒนาการในเด็กกลุ่มอายุ 0 - 72เดือน ทุกหมู่บ้าน  จำนวน 6 หมู่บ้านจัดเก็บแบบสอบถามฐานข้อมูลเด็กและวิเคราะห์หาสาเหตุ 3. จัดเก็บแบบสอบถามฐานข้อมูลเด็กและวิเคราะห์หาสาเหตุ 4. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 72 เดือน จำนวน 70 คน 5.มีการติดตามเยี่ยมบ้าน ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองรายบุคคลและชั่งน้ำหนักเด็กอายุ 0 – 72 เดือนที่มีน้ำหนักต่ออายุน้อยกว่าเกณฑ์ทุกคน เดือนละ 1 ครั้ง พร้อมบันทึกผลการชั่งน้ำหนัก  ทุก  1 เดือน เพื่อประเมินความก้าวหน้าของภาวะทุพโภชนาการและจ่ายอาหารเสริมแก่เด็ก 6. เด็กที่มีน้ำหนักต่ออายุน้อยกว่าเกณฑ์ทุกคนจะต้องได้รับวิตามินเสริมธาตุเหล็กรับประทานวันละ 1 ช้อนชา 7.จ่ายยาถ่ายพยาธิแก่เด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์  อายุ 24 - 72  เดือน ทุกคน ขั้นประเมินผล 1. ติดตามภาวะโภชนาการในเด็กน้ำหนักตามเกณฑ์ทุกๆ  3  เดือน  ในเด็กที่ภาวะโภชนาการน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์และอ้วนเกินเกณฑ์ทุก ๆ 1  เดือน 2.ประเมินผลโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. จำนวนเด็กอายุ ๐ – ๗๒  เดือน ในเขตรับผิดชอบทั้ง จำนวน ๒76 คน ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ จำนวน  ๒71  คน  คิดเป็นร้อยละ  98.18
  2. จากเดิมปี ๒๕60 มีเด็กอายุ ๐ – ๗๒  เดือน  ที่มีภาวะทุพโภชนาการ น.น /อายุ จำนวน  ๑1  คน  คิดเป็นร้อยละ 3.91  ซึ่งหลังจากทำโครงการ “แก้ไข้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ ๐ – ๗๒  เดือน” ในปี ๒๕๖1  เด็กอายุ ๐ – ๗๒  เดือน  ที่มีภาวะทุพโภชนาการ น.น /อายุ จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 3.69  พบว่าลดลงคิดเป็นร้อยละ 0.22
กิจกรรมรณรงค์ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และประเมินพัฒนาการเด็กเชิงรุก30 มกราคม 2561
30
มกราคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย อบต.ปูโยะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ขั้นดำเนินการ
1. ประชุมชี้แจงอาสาสมัครสาธารณสุขเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการ 2. รณรงค์การชั่งน้ำหนัก  วัดส่วนสูง  และประเมินพัฒนาการในเด็กกลุ่มอายุ 0 - 72เดือน ทุกหมู่บ้าน  จำนวน 6 หมู่บ้านจัดเก็บแบบสอบถามฐานข้อมูลเด็กและวิเคราะห์หาสาเหตุ 3. จัดเก็บแบบสอบถามฐานข้อมูลเด็กและวิเคราะห์หาสาเหตุ 4. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 72 เดือน จำนวน 70 คน 5.มีการติดตามเยี่ยมบ้าน ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองรายบุคคลและชั่งน้ำหนักเด็กอายุ 0 – 72 เดือนที่มีน้ำหนักต่ออายุน้อยกว่าเกณฑ์ทุกคน เดือนละ 1 ครั้ง พร้อมบันทึกผลการชั่งน้ำหนัก  ทุก  1 เดือน เพื่อประเมินความก้าวหน้าของภาวะทุพโภชนาการและจ่ายอาหารเสริมแก่เด็ก 6. เด็กที่มีน้ำหนักต่ออายุน้อยกว่าเกณฑ์ทุกคนจะต้องได้รับวิตามินเสริมธาตุเหล็กรับประทานวันละ 1 ช้อนชา 7.จ่ายยาถ่ายพยาธิแก่เด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์  อายุ 24 - 72  เดือน ทุกคน ขั้นประเมินผล 1. ติดตามภาวะโภชนาการในเด็กน้ำหนักตามเกณฑ์ทุกๆ  3  เดือน  ในเด็กที่ภาวะโภชนาการน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์และอ้วนเกินเกณฑ์ทุก ๆ 1  เดือน 2.ประเมินผลโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากเดิมปี ๒๕60 มีเด็กอายุ ๐ – ๗๒  เดือน  ที่มีภาวะทุพโภชนาการ น.น /อายุ จำนวน  ๑1  คน  คิดเป็นร้อยละ 3.91  ซึ่งหลังจากทำโครงการ “แก้ไข้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ ๐ – ๗๒  เดือน” ในปี ๒๕๖1  เด็กอายุ ๐ – ๗๒  เดือน  ที่มีภาวะทุพโภชนาการ น.น /อายุ จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 3.69  พบว่าลดลงคิดเป็นร้อยละ 0.22

กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-72 เดือน30 มกราคม 2561
30
มกราคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย อบต.ปูโยะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ขั้นเตรียมการ
  2. เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ 2.ประสานงานกับอาสาสมัครสาธารณสุข
  3. เสนอโครงการเพื่ออนุมัติ 4.ประชาสัมพันธ์โครงการให้กลุ่มเป้าหมายทราบ
  4. ขั้นดำเนินการ
  5. ประชุมชี้แจงอาสาสมัครสาธารณสุขเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการ
  6. รณรงค์การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และประเมินพัฒนาการในเด็กกลุ่มอายุ 0 - 72เดือน ทุกหมู่บ้าน จำนวน 6 หมู่บ้านจัดเก็บแบบสอบถามฐานข้อมูลเด็กและวิเคราะห์หาสาเหตุ
  7. จัดเก็บแบบสอบถามฐานข้อมูลเด็กและวิเคราะห์หาสาเหตุ
  8. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 72 เดือน จำนวน 70 คน 5.มีการติดตามเยี่ยมบ้าน ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองรายบุคคลและชั่งน้ำหนักเด็กอายุ 0 – 72 เดือนที่มีน้ำหนักต่ออายุน้อยกว่าเกณฑ์ทุกคน เดือนละ 1 ครั้ง พร้อมบันทึกผลการชั่งน้ำหนัก ทุก 1 เดือน เพื่อประเมินความก้าวหน้าของภาวะทุพโภชนาการและจ่ายอาหารเสริมแก่เด็ก
  9. เด็กที่มีน้ำหนักต่ออายุน้อยกว่าเกณฑ์ทุกคนจะต้องได้รับวิตามินเสริมธาตุเหล็กรับประทานวันละ 1 ช้อนชา 7.จ่ายยาถ่ายพยาธิแก่เด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ อายุ 24 - 72 เดือน ทุกคน
  10. ขั้นประเมินผล
  11. ติดตามภาวะโภชนาการในเด็กน้ำหนักตามเกณฑ์ทุกๆ 3 เดือน ในเด็กที่ภาวะโภชนาการน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์และอ้วนเกินเกณฑ์ทุก ๆ 1 เดือน 2.ประเมินผลโครงการ
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

๑. จากการทำแบบทดสอบก่อนและหลังเข้ารับการอบรม โครงการ”แก้ไข้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ ๐ – ๗๒” ปรากฏว่าผู้ปกครองมีความรู้เพิ่มขึ้น

แบบทดสอบ จำนวน ๑๐ ข้อ จำนวน ผู้ปกครอง. (คน) < ๖ คะแนน (ไม่ผ่าน) ๖ คะแนนขึ้นไป (ผ่าน) (คน) (ร้อยละ) (คน) (ร้อยละ) ก่อนอบรม 7๐ 58 82.85 12 17.14 หลังอบรม 7๐ 17 24.28 53 75.71 2. จำนวนเด็กอายุ ๐ – ๗๒ เดือน ในเขตรับผิดชอบทั้ง จำนวน ๒76 คน ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ จำนวน ๒71 คน คิดเป็นร้อยละ 98.18 3. จากเดิมปี ๒๕60 มีเด็กอายุ ๐ – ๗๒ เดือน ที่มีภาวะทุพโภชนาการ น.น /อายุ จำนวน ๑1 คน  คิดเป็นร้อยละ 3.91  ซึ่งหลังจากทำโครงการ “แก้ไข้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ ๐ – ๗๒ เดือน” ในปี ๒๕๖1 เด็กอายุ ๐ – ๗๒ เดือน ที่มีภาวะทุพโภชนาการ น.น /อายุ จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 3.69 พบว่าลดลงคิดเป็นร้อยละ 0.22