กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

๑. จากการทำแบบทดสอบก่อนและหลังเข้ารับการอบรม โครงการ”แก้ไข้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ ๐ – ๗๒” ปรากฏว่าผู้ปกครองมีความรู้เพิ่มขึ้น

แบบทดสอบ จำนวน ๑๐ ข้อ จำนวน ผู้ปกครอง. (คน) < ๖ คะแนน (ไม่ผ่าน) ๖ คะแนนขึ้นไป (ผ่าน) (คน) (ร้อยละ) (คน) (ร้อยละ) ก่อนอบรม 7๐ 58 82.85 12 17.14 หลังอบรม 7๐ 17 24.28 53 75.71 2. จำนวนเด็กอายุ ๐ – ๗๒ เดือน ในเขตรับผิดชอบทั้ง จำนวน ๒76 คน ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ จำนวน ๒71 คน คิดเป็นร้อยละ 98.18 3. จากเดิมปี ๒๕60 มีเด็กอายุ ๐ – ๗๒ เดือน ที่มีภาวะทุพโภชนาการ น.น /อายุ จำนวน ๑1 คน  คิดเป็นร้อยละ 3.91  ซึ่งหลังจากทำโครงการ “แก้ไข้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ ๐ – ๗๒ เดือน” ในปี ๒๕๖1 เด็กอายุ ๐ – ๗๒ เดือน ที่มีภาวะทุพโภชนาการ น.น /อายุ จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 3.69 พบว่าลดลงคิดเป็นร้อยละ 0.22

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 72 เดือน
ตัวชี้วัด : ร้อยละความรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 72 เดือน

 

2 เพื่อให้เด็กอายุ 0 - 72 เดือน ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละเด็กอายุ 0 - 72 เดือน ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ

 

3 เพื่อให้เด็กอายุ ๐ - ๗๒ เดือน มีน้ำหนักต่ออายุร้อยละ 78
ตัวชี้วัด : ร้อยละเด็กอายุ ๐ - ๗๒ เดือน มีน้ำหนักต่ออายุร้อยละ 78

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 70
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 72 เดือน (2) เพื่อให้เด็กอายุ 0 - 72 เดือน ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ (3) เพื่อให้เด็กอายุ ๐ - ๗๒ เดือน มีน้ำหนักต่ออายุร้อยละ 78

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh