กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน


“ โครงการค้นหา ป้องกัน และควบคุมวัณโรคในชุมชน ตำบลบ่อหิน ”

ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางบุญตา ศรีละออง

ชื่อโครงการ โครงการค้นหา ป้องกัน และควบคุมวัณโรคในชุมชน ตำบลบ่อหิน

ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ ุ67-L8429-01-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 เมษายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการค้นหา ป้องกัน และควบคุมวัณโรคในชุมชน ตำบลบ่อหิน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการค้นหา ป้องกัน และควบคุมวัณโรคในชุมชน ตำบลบ่อหิน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการค้นหา ป้องกัน และควบคุมวัณโรคในชุมชน ตำบลบ่อหิน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ุ67-L8429-01-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 เมษายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่กำลังเป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณสุข เป็นสาเหตุของการป่วย และการเสียชีวิตในหลายๆประเทศ  ทั่วโลก อีกทั้งปัจจุบันการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ทำให้ปัญหาวัณโรคมีความรุนแรงเพิ่มขึ้นเนื่องจากการติดเชื้อเอดส์ทำให้ภูมิคุ้มกันบกพร่อง มีโอกาสป่วยเป็นวัณโรคได้รวดเร็วและรุนแรงกว่าผู้ที่ไม่ติดเชื้อเอดส์ วัณโรคจึงนับเป็นปัญหาที่ท้าทายต่อวงการสาธารณสุขของประเทศต่างๆ ปัจจุบันทั่วโลกมีผู้ที่ติดเชื้อวัณโรคประมาณ ๒ พันล้านคน หรือเกือบ ๑ ใน ๓ ของประชากรโลก มีผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิต ๑.๙๐ ล้านคนในแต่ละปี จากการคำนวณทางระบาดวิทยาในรายงานขององค์การอนามัยโลกคาดว่า ประเทศไทยน่าจะมีผู้ป่วยรายใหม่ทุกประเภทประมาณ ๙๒,๓๐๐ คน ในจำนวนนี้ประมาณครึ่งหนึ่ง หรือ ๔๔,๔๗๕ คนเป็นผู้ป่วยที่สามารถแพร่เชื้อได้ และมีผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิตปีละ ๑๒,๐๘๙ ราย นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ป่วยโรคเอดส์รายใหม่ตรวจพบวัณโรคร่วมด้วย ประมาณร้อยละ ๑๗
  รายงานสถานการณ์และการเฝ้าระวังวัณโรคประเทศไทย ปีงบประมาณ พ.ศ.256๕ ข้อมูล ณ วันที่1 ตุลาคม 256๖ พบว่า ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ ของทุกประเภท (คนไทย ไม่ใช่คนไทย และเรือนจำ) ที่ขึ้นทะเบียน จำนวน ๑๐๓,๐๐๐ ราย และมีการเสียชีวิตจากวัณโรคกว่า 12,000 รายต่อปี
    สถานการณ์วัณโรคในอำเภอสิเกา ปี ๒๕๖๔ – ๒๕๖๖ มีจำนวนผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่เสมหะพบเชื้อจำนวน ๑๔ ,๒๐ และ ๒๖ ราย ตามลำดับ มีผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่เสมหะพบเชื้อที่อาศัยอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 1,2,3,๖,8,9 ตำบลบ่อหิน จำนวน ๕ ,๓ และ ๔ ราย ตามลำดับ โดยปี ๒๕๖๔-๒๕๖๖ พบผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิต จำนวน ๒ , ๑ และ ๑ ราย ตามลำดับ อัตราความครอบคลุมการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ปี ๒๕๖๖ ร้อยละ ๕๒ ซึ่งยังต่ำกว่าเกณฑ์ที่กรมควบคุมโรคตั้งเกณฑ์เป้าหมายไว้ร้อยละ ๙๐ จึงจำเป็นต้องเร่งรัดค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มประชากรด้อยโอกาส และกลุ่มเสี่ยงต่างๆให้ครอบคลุม รวมทั้งทำงานแบบผสมผสานทั้งงานวัณโรค และโรคเอดส์อย่างจริงจัง เพื่อลดอัตราการตายของผู้ป่วย และป้องกันปัญหาวัณโรคดื้อยาหลายขนานอีกด้วย โดยการดำเนินงานดังกล่าวจำเป็นต้องได้รับการ ช่วยเหลือจาก ภาคส่วน และองค์กรในชุมชน โดยเฉพาะอาสาสมัครธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ซึ่งเป็นบุคคลจิตอาสาที่อาศัยอยู่ในชุมชน เป็นผู้ที่ได้รับการยอมรับจากชุมชน มีระบบเครือญาติ และเครือข่ายทางสังคม มีความคล่องตัว คุ้นเคย เข้าใจสภาพปัญหาในชุมชน และมีบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ร่วมกับบุคลากรสาธารณสุขมาอย่างต่อเนื่อง จากความสำคัญดังกล่าว โรงพยาบาลสิเกาจึงได้จัดทำโครงการค้นหา ป้องกัน และควบคุมวัณโรคในชุมชน โดยเชิญอสม.ในพื้นที่หมู่ที่ ๑ ,๒, ๓ ,๖, ๘ ,๙ ตำบลบ่อหินเพื่อรับการพัฒนาความรู้ และทักษะตลอดทั้งดำเนินการคัดกรองวัณโรคและ ส่งต่อในรายที่มีอาการสงสัยไปโรงพยาบาลสิเกา อีกทั้งเป็นแกนนำในการสร้างความเข้าใจและจัดทำแนวทางแก้ไขปัญหาวัณโรคร่วมกับชุมชน เพื่อให้ชุมชนสามารถดำเนินงานป้องกันและควบคุมวัณโรคปอดได้ด้วยชุมชนเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้อสม.แกนนำมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัณโรค
  2. เพื่อให้อสม.แกนนำ มีทักษะที่ถูกต้องในการคัดกรอง ผู้สัมผัสเสี่ยงสูง สามารถตั้งคำถาม/ให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยวัณโรคและญาติได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
  3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเป้าหมายในชุมชนได้รับการคัดกรอง วัณโรคและได้รับการส่งต่อในรายที่มีอาการสงสัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรม อสม. โดยการบรรยาย เนื้อหาประกอบด้วย -ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวัณโรค -ยาที่ใช้ในการรักษาวัณโรคและอาการข้างเคียง -แนวทางการเยี่ยมบ้านและการกำกับการกินยา -แนวทางคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงเป้าหมายและการส่งต่อ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.อสม.แกนนำสามารถเป็นผู้นำในการป้องกันวัณโรค ๒.ผู้ป่วยวัณโรคทุกรายได้รับการกำกับการกินยาแบบมีพี่เลี้ยง(DOT) โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและ อสม. ๓.อัตราป่วยวัณโรคลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรม อสม. โดยการบรรยาย เนื้อหาประกอบด้วย -ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวัณโรค -ยาที่ใช้ในการรักษาวัณโรคและอาการข้างเคียง -แนวทางการเยี่ยมบ้านและการกำกับการกินยา -แนวทางคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงเป้าหมายและการส่งต่อ

วันที่ 7 มีนาคม 2567 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

๐๘.๓๐-๐๙.๐๐น. ลงทะเบียน ๐๙.๐๐-๑๐.๓๐น. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวัณโรค  (นางจินตนา ทองเสน่ห์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ)
๑๐.๓๐-๑๐.๔๐น. พักรับประทานอาหารว่าง ๑๐.๔๐-๑๒.๐๐น. ยาที่ใช้ในการรักษาวัณโรคและอาการข้างเคียง (น.ส.ธนัชชา  นาคบรรพ์ เภสัชกร) ๑๒.๐๐-๑๓.๐๐น. พักรับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐-๑๓.๓๐น. แนวทางการเยี่ยมบ้านและการกำกับการกินยา
                              (นางพัสตราภรณ์ ดวงดาว เจ้าพนักสาธารณสุขชำนาญงาน) ๑๓.๓๐-๑๔.๓๐น. แนวทางการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงเป้าหมายและการส่งต่อ
                              (นางพัสตราภรณ์ ดวงดาว  เจ้าพนักสาธารณสุขชำนาญงาน) ๑๔.๓๐-๑๔.๔๐น. พักรับประทานอาหารว่าง ๑๔.๔๐-๑๖.๐๐น. ฝึกปฏิบัติทักษะการ ถาม-ตอบเกี่ยวกับวัณโรคจากผู้ป่วยและญาติ (น.ส.สมฤดี สิทธิการ นักจิตวิทยาปฏิบัติการ) ๑๖.๐๐-๑๖.๓๐น. ซักถามปัญหา ปิดการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑.อสม.แกนนำสามารถเป็นผู้นำในการป้องกันวัณโรค ๒.ผู้ป่วยวัณโรคทุกรายได้รับการกำกับการกินยาแบบมีพี่เลี้ยง(DOT) โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและ อสม. ๓.อัตราป่วยวัณโรคลดลง

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้อสม.แกนนำมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัณโรค
ตัวชี้วัด : อสม.แกนนำที่รับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัณโรคเพิ่มขึ้น
90.00

 

2 เพื่อให้อสม.แกนนำ มีทักษะที่ถูกต้องในการคัดกรอง ผู้สัมผัสเสี่ยงสูง สามารถตั้งคำถาม/ให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยวัณโรคและญาติได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : งอสม.แกนนำที่ได้รับการอบรมมีทักษะที่ถูกต้องในการคัดกรองผู้สัมผัสเสี่ยงสูง สามารถตั้งคำถาม/ให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยวัณโรคและญาติได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
90.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเป้าหมายในชุมชนได้รับการคัดกรอง วัณโรคและได้รับการส่งต่อในรายที่มีอาการสงสัย
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงเป้าหมายในชุมชนได้รับการคัดกรองวัณโรคและได้รับการส่งต่อในรายที่มีอาการสงสัย
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อสม.แกนนำมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัณโรค (2) เพื่อให้อสม.แกนนำ มีทักษะที่ถูกต้องในการคัดกรอง  ผู้สัมผัสเสี่ยงสูง สามารถตั้งคำถาม/ให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยวัณโรคและญาติได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเป้าหมายในชุมชนได้รับการคัดกรอง  วัณโรคและได้รับการส่งต่อในรายที่มีอาการสงสัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรม อสม. โดยการบรรยาย เนื้อหาประกอบด้วย    -ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวัณโรค    -ยาที่ใช้ในการรักษาวัณโรคและอาการข้างเคียง      -แนวทางการเยี่ยมบ้านและการกำกับการกินยา      -แนวทางคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงเป้าหมายและการส่งต่อ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการค้นหา ป้องกัน และควบคุมวัณโรคในชุมชน ตำบลบ่อหิน จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ ุ67-L8429-01-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางบุญตา ศรีละออง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด