กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา


“ โครงการขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ”

ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายสมชาย ชูเอียด

ชื่อโครงการ โครงการขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7252-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 มกราคม 2567 ถึง 23 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L7252-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 มกราคม 2567 - 23 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,598.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสังคมไทยกำลังประสบปัญหาวิกฤต จากสถานการณ์ปัญหายาเสพติดที่ได้เริ่มแพร่ระบาดและกำลังทวีความรุนแรงมากขึ้นอย่างน่าวิตก การหวนกลับมาระบาดอย่างหนักของยาเสพติดในปัจจุบัน เป็นผลให้เด็กและเยาวชน หลงผิดเข้าสู่วงจรของการซื้อขายและเสพยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็นอุปสรรคสำคัญในการพัฒนาประเทศ และเป็นการทำลายทรัพยากรบุคคลซึ่งเป็นอนาคตและเป็นพลังในการพัฒนาประเทศให้ด้อยคุณภาพ อันจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ และเป็นภาระงบประมาณของประเทศในการบำบัดรักษาผู้ป่วยที่เกิดจากการเสพยาเสพติด อีกทั้งยังเป็นปัญหาที่สร้างความรู้สึกสะเทือนใจและเจ็บปวดให้กับพ่อแม่ผู้ปกครอง และปัญหายาเสพติดได้นำมาซึ่งความรุนแรงในครอบครัวและอาชญากรรมต่างๆในสังคม
        กระทรวงมหาดไทยได้แจ้งแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้การป้องกันและเเก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่  ให้ความสำคัญและกำชับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งรัดการดำเนินงานการป้องกันและแก้ไขยาเสพติดในพื้นที่ จึงได้จัดทำแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน 3 ด้าน ประกอบด้วย ด้านที่ 1 การบำบัดรักษายาเสพติด ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ร่วมกันขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบบูรณาการเชิงรุก โดยจัดตั้งศูนย์คัดกรองเพื่อคัดกรองและประเมินความรุนแรงของการติดยาเสพติด ภาวะความเสี่ยงทางสุขภาพกาย สุขภาพจิต รวมถึงปัญหาด้านสังคมที่เกี่ยวข้องกับการติดยาเสพติด และวิเคราะห์จำแนกระดับความรุนแรง และวางแผนการดูแลบำบัดรักษาหรือการส่งต่อที่เหมาะสม รวดเร็วและปลอดภัย และจัดตั้งศูนย์ฟื้นฟูสภาพทางสังคม เพื่อให้การสงเคราะห์สนับสนุนให้ผู้ติดยาเสพติด หรือ ผู้ผ่านการบำบัดรักษาได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตทางด้านที่อยู่อาศัย การศึกษา อาชีพ ตลอดจน การติดตามดูแลช่วยเหลือจนสามารถกลับมาดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างปกติ ด้านที่ 2 คือ การป้องกันยาเสพติด ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของหมู่บ้าน/ชุมชน ในการสร้างภูมิคุ้มกัน การเฝ้าระวัง การค้นหา การรักษา การให้โอกาส การดูแลและช่วยเหลือผู้ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดรวมทั้งเสริมสร้างความเข้มแข็งและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและด้านที่ 3 งบประมาณเพื่อดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ดังนั้น ปัญหายาเสพติดจึงเป็นเรื่องเร่งด่วนที่ต้องได้รับการป้องกันและแก้ไขโดยทุกภาคส่วน ที่ต้องอาศัยความร่วมมืออย่างจริงจัง เทศบาลเมืองสะเดา ในฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอำนาจหน้าที่ตาม พรบ.เทศบาล พ.ศ.2496 (แก้ไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 14 พ.ศ.2562) มาตรา 50(1) และพรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. พ.ศ.2542 มาตรา 16(23)(30)ได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญตามแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้การป้องกันและเเก้ไขปัญหา  ยาเสพติดในพื้นที่ เพื่อหยุดยั้งและลดระดับการขยายตัวของปัญหายาเสพติดในพื้นที่ให้ได้มากที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเผยแพร่การป้องกันปัญหายาเสพติดในระดับพื้นที่ โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของเยาวชน/ประชาชน
  2. เพื่อปลูกจิตสำนึกให้กับเยาวชน/ประชาชนให้ตระหนักถึงปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดและมีบทบาทสำคัญในการแก้ปัญหาของชุมชนตนเอง
  3. เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างชุมชนและเครือข่ายในระดับพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งเอาชนะ ยาเสพติดอย่างยั่งยืน
  4. เพื่อให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด
  5. เพื่อให้เป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสร้างเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 700
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    10.1 ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันปัญหายาเสพติดในระดับพื้นที่
    10.2 ประชาชนมีจิตสำนึกและตระหนักถึงปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดและมีบทบาทสำคัญในการแก้ปัญหาของชุมชนตนเอง 10.3 เป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างชุมชนและเครือข่ายในระดับพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งเอาชนะยาเสพติดอย่างยั่งยืน 10.4 ทำให้ประชาชนได้เห็นความสำคัญของพิษภัยและโทษยาเสพติด เข้ามามีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด 10.5 ทำให้หน่วยงานของรัฐ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/ภาคประชาชน/ภาคเอกชน ได้มีโอกาสเรียนรู้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเผยแพร่การป้องกันปัญหายาเสพติดในระดับพื้นที่ โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของเยาวชน/ประชาชน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อปลูกจิตสำนึกให้กับเยาวชน/ประชาชนให้ตระหนักถึงปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดและมีบทบาทสำคัญในการแก้ปัญหาของชุมชนตนเอง
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างชุมชนและเครือข่ายในระดับพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งเอาชนะ ยาเสพติดอย่างยั่งยืน
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด
    ตัวชี้วัด :

     

    5 เพื่อให้เป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสร้างเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 750
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 700
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเผยแพร่การป้องกันปัญหายาเสพติดในระดับพื้นที่ โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของเยาวชน/ประชาชน (2) เพื่อปลูกจิตสำนึกให้กับเยาวชน/ประชาชนให้ตระหนักถึงปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดและมีบทบาทสำคัญในการแก้ปัญหาของชุมชนตนเอง (3) เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างชุมชนและเครือข่ายในระดับพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งเอาชนะ      ยาเสพติดอย่างยั่งยืน (4) เพื่อให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด (5) เพื่อให้เป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสร้างเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 67-L7252-01-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสมชาย ชูเอียด )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด