กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา


“ โครงการอาหารปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุกันยา สิเดะ

ชื่อโครงการ โครงการอาหารปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7252-01-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 มกราคม 2567 ถึง 23 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาหารปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาหารปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L7252-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 มกราคม 2567 - 23 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสถานประกอบการร้านอาหารมีการเพิ่มจำนวนมากขึ้น สอดคล้องกับการเติบโตของระบบเศรษฐกิจ การเพิ่มขึ้นของประชากร อาหารเป็นปัจจัย 4 ที่เป็นความจำเป็นพื้นฐานของการดำรงชีวิตของมนุษย์ “อาหาร” จึงเป็นเรื่องสำคัญที่เราไม่อาจมองข้ามได้ เพราะอาหารจะส่งผลโดยตรงต่อระบบสุขภาพของผู้บริโภค หากอาหารที่รับประทานเข้าไปมีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วน และสะอาดถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล จะส่งผลดีต่อระบบสุขภาพของประชาชนโดยตรง และในทางตรงข้ามหากอาหารที่รับประทานเข้าไปมีการปนเปื้อน ไม่สะอาดถูกหลักอนามัย และไม่มีคุณค่าทางโภชนาการ จะทำให้เกิดผลเสียต่อระบบสุขภาพของผู้บริโภคโดยตรงเช่นกัน อาจนำไปสู่การเกิดโรคที่มีอาหารเป็นสื่อนำได้ การป้องกันหรือควบคุมที่มีประสิทธิภาพที่สุด ต้องมีการป้องกันจากต้นเหตุนั้นก็คือ เจ้าของสถานประกอบการร้านอาหาร รวมไปถึงผู้สัมผัสอาหารทุกคนในทุกขั้นตอนของการเตรียม ปรุง และเสิร์ฟอาหาร ต้องมีความรู้ มีความตระหนักในการปฏิบัติตัวให้ถูกตามหลักสุขาภิบาลอาหารอย่างเคร่งครัด เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้บริโภคอย่างสูงสุด รวมถึงตลาดซึ่งเป็นสถานที่ซึ่งจัดไว้ให้ผู้ประกอบการได้จำหน่ายสินค้า ประเภทต่างๆ เช่น เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ อาหารปรุงสำเร็จ และสินค้าอื่นๆที่หลากหลาย ตลาดจึงเป็นสถานที่ที่ต้องมีการดูแล พัฒนา ปรับปรุงให้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลอาหาร เพื่อป้องกันไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของโรคที่ติดต่อทางอาหาร เช่น โรคอุจจาระร่วง โรคอาหารเป็นพิษ รวมถึงป้องกันไม่ให้มีสารปนเปื้อน ล้วนเป็นอันตรายต่อสุขภาพต่อผู้บริโภคทั้งสิ้น ในการนี้ งานสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดโครงการอาหารปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2567 เพื่อส่งเสริมความรู้แก่ประชาชนในชุมชน และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ และให้ผู้ประกอบการเฝ้าระวัง รักษาคุณภาพอาหาร และมีการปรับปรุงคุณภาพให้ประสิทธิภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อการดำเนินงานสอดคล้องกับกฎหมายสาธารณสุข
  2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจด้านการจัดการสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบการร้านอาหารในเขตเทศบาลเมืองสะเดา
  3. เพื่อป้องกันการปนเปื้อน และการเกิดสารอันตรายในอาหารไปสู่ผู้บริโภค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. การดำเนินงานสอดคล้องกับกฎหมายสาธารณสุข
      1. ผู้ประกอบการมีความรู้ ความเข้าใจ ในด้านสุขาภิบาลอาหารเพิ่มมากขึ้น และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการประกอบการได้อย่างเป็นรูปธรรม
      2. ป้องกันการปนเปื้อน และการเกิดสารอันตรายในอาหารไปสู่ผู้บริโภคได้มากขึ้น
      3. คุ้มครองผู้บริโภค

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อการดำเนินงานสอดคล้องกับกฎหมายสาธารณสุข
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจด้านการจัดการสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบการร้านอาหารในเขตเทศบาลเมืองสะเดา
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อป้องกันการปนเปื้อน และการเกิดสารอันตรายในอาหารไปสู่ผู้บริโภค
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อการดำเนินงานสอดคล้องกับกฎหมายสาธารณสุข (2) เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจด้านการจัดการสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบการร้านอาหารในเขตเทศบาลเมืองสะเดา (3) เพื่อป้องกันการปนเปื้อน และการเกิดสารอันตรายในอาหารไปสู่ผู้บริโภค

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอาหารปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 67-L7252-01-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวสุกันยา สิเดะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด