กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้นักเรียน ผู้อำนวยการ ครู บุคลากรและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของสารเสพติดและอบายมุข
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 นักเรียน ผู้อำนวยการ ครู บุคลากรและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของสารเสพติดและอบายมุข
50.00 90.00 90.00

 

 

 

2 เพื่อให้โรงเรียนเป็นโรงเรียนปลอดสารเสพติดและอบายมุข
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 โรงเรียนเป็นโรงเรียนปลอดสารเสพติดและอบายมุข
30.00 60.00 60.00

 

 

 

3 เพื่อให้นักเรียน ผู้อำนวยการ ครู บุคลากรทางการศึกษาไม่ยุ่งเกี่ยวกับสารเสพติดและอบายมุข
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 3. นักเรียน ผู้อำนวยการ ครู บุคลากรทางการศึกษาไม่ยุ่งเกี่ยวกับสารเสพติดและอบายมุข
20.00 80.00 80.00

 

 

 

4 เพื่อลดจำนวนพื้นที่เสี่ยงต่อการมั่วสุมในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนพื้นที่เสี่ยงต่อการมั่วสุมในชุมชน
30.00 50.00 50.00

 

 

 

5 เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน
20.00 50.00 50.00

 

 

 

6 เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด
50.00 20.00 20.00

 

 

 

7 เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่มีการใช้สารเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่มีการใช้สารเสพติด
30.00 10.00 10.00

 

 

 

8 เพื่อแก้ปัญหาหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น
ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น(อายุน้อยกว่า 20 ปี) (คน)
10.00 5.00 5.00