กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโตนดด้วน


“ โครงการเฝ้าระวังติดตามดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนตำบลโตนดด้วน ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลโตนดด้วน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาววิมลวรรณ ชายเกตุ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังติดตามดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนตำบลโตนดด้วน ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลโตนดด้วน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3318-02-7 เลขที่ข้อตกลง 7/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังติดตามดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนตำบลโตนดด้วน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโตนดด้วน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโตนดด้วน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังติดตามดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนตำบลโตนดด้วน ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังติดตามดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนตำบลโตนดด้วน ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโตนดด้วน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3318-02-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 58,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโตนดด้วน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบัน ประชาชนเข้าถึงบริการทางด้านสุขภาพได้รวดเร็วขึ้น หนึ่งในนั้น คือ โรคจิตาภท ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญโรคหนึ่งของประเทศไทยที่พบมากถึงร้อยละ 1 ของประชากรทั่วไป และมีอาการกำเริบถึงร้อยละ 50 - 70 ซึ่งการกำเริบของโรคทางจิตเวชมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการพัฒนาสังคมของประเทศชาติ เนื่องจากรัฐจะต้องสูญเสียงบประมาณในการดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้เป็นจำนวนมาก กล่าวคือ ผู้ป่วยกลุ่มนี้จัดเป็นผู้ป่วยเรื้อรังที่ต้องเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง จึงมีอัตราการรักษาซ้ำในโรงพยาบาลอยู่บ่อยครั้ง ทำให้ต้องใช้งบประมาณในการดูแลสูง อีกทั้งต้องอาศัยผู้ดูแลให้คอยช่วยจัดยาและจัดการชีวิตประจำวันของผู้ป่วยอยู่ตลอด รวมทั้ง ต้องเสียเวลาในการประกอบอาชีพ และขาดรายได้ เนื่องจากต้องพาผู้ป่วยไปรับการรักษาบ่อยครั้ง และเกิดปัญหาทางด้านสุขภาพจิตของตนเองร่วมด้วยส่วนใหญ่ อาการกำเริบของผู้ป่วยจิตเวชนั้น เกิดจากการที่ผู้ป่วยกินยาไม่ต่อเนื่อง ญาติขาดความรู้ในการดูแลผู้ป่วยและขาดทักษะในการติดต่อสื่อสารกับผู้ป่วยอย่างเหมาะสม ตลอดจน ผู้ป่วยจิตเวชเองยังไม่ตระหนักรู้ถึงอาการป่วยของตนเอง รู้สึกตัวเองไม่มีคุณค่า และขาดทักษะที่จะใชีวิตอยู่ในสังคมอย่างปกติสุข อาสาสมัครผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนตำบลโตนดด้วน จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพอ่าสาสมัครดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้องรังในชุมชนขึ้น ในปี 2567 เพื่อให้ผู้ป่่วยจิตเวชได้รับบริการต่อเนื่องในชุมชน ลดอาการกำเริบหรือการกลับมาเป็นซ้ำเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและลดภาระของชาติ ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ป่วยใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้ตามปกติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง 2.ลดการอาการกำเริบหรือกลับมาเป็นซ้ำของผู้ป่วย 3.เพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและลดภาระของญาติผู้ดูแล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. .ผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังที่มีความเสี่ยงในการเกิดอาการกำเริบได้รับการดูแลติดตาม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังรายเก่า และรายใหม่ ที่มีความเสี่ยงในการเกิดอาการกำเริบได้รับการดูแลจำนวน 15 คน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง 2.ลดการอาการกำเริบหรือกลับมาเป็นซ้ำของผู้ป่วย 3.เพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและลดภาระของญาติผู้ดูแล
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังไม่มีอาการกำเริบหรือการกลับมาเป็นซ้ำ ร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง      2.ลดการอาการกำเริบหรือกลับมาเป็นซ้ำของผู้ป่วย      3.เพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและลดภาระของญาติผู้ดูแล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) .ผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังที่มีความเสี่ยงในการเกิดอาการกำเริบได้รับการดูแลติดตาม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังติดตามดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนตำบลโตนดด้วน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3318-02-7

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาววิมลวรรณ ชายเกตุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด