โครงการพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ปีงบประมาณ 2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ปีงบประมาณ 2566 ”
ตำบลทนง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทะนง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทะนง
สิงหาคม 2566
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ปีงบประมาณ 2566
ที่อยู่ ตำบลทนง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทนง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทะนง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ปีงบประมาณ 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทนง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 148,809.30 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทะนง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
“โรค NCDs” (No communicable Diseases หรือโรคไม่ติดต่อ) เป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของโลกและ ของประเทศไทย โดยเฉพาะ กลุ่มโรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน โรคมะเร็งๆ โรคไตเรื้อรัง เป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตของคนไทยซึ่งมีปัจจัยมาจากพฤติกรรมเสี่ยง เช่น การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การบริโภค หวาน มันเค็ม และการมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยทางสังคม เช่น การขยายตัวของสังคมเมือง กลยุทธ์ทางการตลาด ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และการสื่อสาร ที่ส่งผลต่อวิถีชีวิตและทำให้ประชาชนป่วยด้วยโรค NCDs เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สำหรับตำบลทะนง ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้องรังที่เป็นปัญหาของตำบลทะนง ในปี 2565 ข้อมูลจาก HDC ซึ่งประชากรของตำบลทะนง ซึ่งประชากรของตำบลทะนงเป็นชาย 3,667 คน เป็นหญิง 3,837 คน รวมทั้งสิ้นตำบลทะนง มีประชากรเป็น 7,504 คน มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 1,347 ราย อัตราป่วยของโรคความดันโลหิตสูง 17,864.72 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยรายใหม่จากโรคความดันโลหิตสูง 132 ราย อัตราป่วยรายใหม่จากโรคความดันโลหิตสูง 1,759.06 ต่อแสนประชากร ป่วยตายจากโรคความดันโลหิตสูง 36 ราย อัตราป่วยตายจากโรคความดันโลหิตสูง 479.74 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยโรคเบาหวาน 559 ราย อัตราป่วยของโรคเบาหวาน 7,449.36 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยรายใหม่จากโรคเบาหวาน 45 ราย อัตราป่วยรายใหม่จากโรคเบาหวาน 599.68 ต่อแสนประชากร ป่วยตายจากโรคเบาหวาน 19 ราย อัตราป่วยตายจากโรคเบาหวาน253.19 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยโรคไตเรื้องรัง 279 ราย อัตราป่วยของโรคไตเรื้องรัง 3,718.01 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยรายใหม่จากโรคไตเรื้องรัง 3 ราย อัตราป่วยรายใหม่จากโรคไตเรื้องรัง 39.97 ต่อแสนประชากร ป่วยตายจากโรคไตเรื้องรัง 1 ราย อัตราป่วยตายจากโรคไตเรื้องรัง 13.32 ต่อแสนประชากร และการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ในกลุ่มเสี่ยง ในปี 2565 จำนวน 168 ราย มีผลเป็นบวก 52 ราย อัตราการคัดกรองมีผลเป็นบวก 692.96 ต่อแสนประชากร
จากข้อมูลข้างต้นมีผู้ป่วยจำนวนมากอยู่ในชุมชน แต่ยังมีผู้ที่มีพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคอยู่ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทะนง จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ประจำปีงบประมาณ 2566 เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงที่ยังไม่ได้รับการคัดกรอง และผู้ป่วยรายใหม่ที่ยังไม่ได้ผ่านการอบรมหรือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตั้งแต่ยังเป็นกลุ่มสี่ยง มาทำการตรวจเพิ่มเติมหรือการรักษา เพื่อให้สภาพร่างกายอยู่ในเกณฑ์ใกล้เคียงปกติ ลดเสี่ยง ลดโรค ลดผู้ป่วย และลดภาวะแทรกซ้อนของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในระยะยาว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อคัดกรองและจำแนกประเภทของกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
- เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคไตวาย เรื้อรัง
- เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงตามหลัก 3อ 2ส
- กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้กลุ่มป่วยในการการควบคุมอาหาร ออกกำลังกาย และภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย
- กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะ 3a และ 3b ที่มีค่า eGFR อยู่ระหว่าง 30- 59 และญาติผู้ป่วยหรือผู้ดูแล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
3,449
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
-ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคไตวายเรื้อรัง มีภาวะแทรกซ้อนลดลง
-จำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคไตวายเรื้อรังลดลง
-กลุ่มเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ ได้รับการคัดกรองครบตามเป้าหมาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงตามหลัก 3อ 2ส
วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1 เจาะเลือดหาระดับน้ำตาลในกลุ่ม ประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไป ด้วยเครื่อง DTX 3,449 คน
2 เจาะเลือดหาระดับไขมันในเลือดในกลุ่ม ประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะเสี่ยง(ผู้มีภาวะอ้วนลงพุงที่มีรอบเอวเกินในชาย > 90 ซม. ในหญิง > 80 ซม. และBMI มากกว่า 30) จำนวน 500 คน
3 คืนข้อมูลผลการเจาะเลือดให้แก่กลุ่มเสี่ยงและให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหาร การออกกำลังกายอย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยบูรณาการร่วมกับงานแพทย์แผนไทย
4 แยกกลุ่มผู้ป่วยจากการคัดกรองด้วยวาจา และนำกลุ่มเสี่ยงที่คัดกรองด้วยวาจาแล้วพบว่าเสี่ยง สูงมาก (มีค่า DM Score > 9, มีค่า DTX ก่อนทานอาหาร >126 mg% หลังทานอาหาร > 200 mg%, และผู้ที่มีค่า BP >140/90 หลังวัดซ้ำครั้งที่ 2) มาเข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ 2ส
5 กิจกรรมอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงตามหลัก 3อ 2ส
6 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังในการควบคุมอาหาร ออกกำลังกาย และป้องกันภาวะแทรกซ้อน
7 ตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ทาง ตา ไต เท้า ในผู้ป่วยโรคเบาหวานในพื้นที่ตำบลทะนง
8 อบรมให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะ 3a และ 3b ที่มีค่า eGFR อยู่ระหว่าง 30 - 59 และญาติผู้ป่วยหรือผู้ดูแล พร้อมทำแบบสอบถามก่อนและหลังให้ความรู้
9 เก็บอุจจาระของกลุ่มเสี่ยง ที่คัดกรองจากแบบสอบถามด้วยวาจาแล้วพบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยง(คะแนน > 4 คะแนน) ส่งตรวจด้วยชุดตรวจมะเร็งลำไส้ใหญ่เบื้องต้น (Fit Test)
10 แจ้งผลผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ แล้วส่งต่อให้ไปรับการตรวจยืนยันที่รพ.โพทะเล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคไตวายเรื้อรัง มีภาวะแทรกซ้อนลดลง
50
0
2. กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้กลุ่มป่วยในการการควบคุมอาหาร ออกกำลังกาย และภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย
วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1 เจาะเลือดหาระดับน้ำตาลในกลุ่ม ประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไป ด้วยเครื่อง DTX 3,449 คน
2 เจาะเลือดหาระดับไขมันในเลือดในกลุ่ม ประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะเสี่ยง(ผู้มีภาวะอ้วนลงพุงที่มีรอบเอวเกินในชาย > 90 ซม. ในหญิง > 80 ซม. และBMI มากกว่า 30) จำนวน 500 คน
3 คืนข้อมูลผลการเจาะเลือดให้แก่กลุ่มเสี่ยงและให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหาร การออกกำลังกายอย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยบูรณาการร่วมกับงานแพทย์แผนไทย
4 แยกกลุ่มผู้ป่วยจากการคัดกรองด้วยวาจา และนำกลุ่มเสี่ยงที่คัดกรองด้วยวาจาแล้วพบว่าเสี่ยง สูงมาก (มีค่า DM Score > 9, มีค่า DTX ก่อนทานอาหาร >126 mg% หลังทานอาหาร > 200 mg%, และผู้ที่มีค่า BP >140/90 หลังวัดซ้ำครั้งที่ 2) มาเข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ 2ส
5 กิจกรรมอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงตามหลัก 3อ 2ส
6 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังในการควบคุมอาหาร ออกกำลังกาย และป้องกันภาวะแทรกซ้อน
7 ตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ทาง ตา ไต เท้า ในผู้ป่วยโรคเบาหวานในพื้นที่ตำบลทะนง
8 อบรมให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะ 3a และ 3b ที่มีค่า eGFR อยู่ระหว่าง 30 - 59 และญาติผู้ป่วยหรือผู้ดูแล พร้อมทำแบบสอบถามก่อนและหลังให้ความรู้
9 เก็บอุจจาระของกลุ่มเสี่ยง ที่คัดกรองจากแบบสอบถามด้วยวาจาแล้วพบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยง(คะแนน > 4 คะแนน) ส่งตรวจด้วยชุดตรวจมะเร็งลำไส้ใหญ่เบื้องต้น (Fit Test)
10 แจ้งผลผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ แล้วส่งต่อให้ไปรับการตรวจยืนยันที่รพ.โพทะเล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคไตวายเรื้อรังลดลง
50
0
3. กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะ 3a และ 3b ที่มีค่า eGFR อยู่ระหว่าง 30- 59 และญาติผู้ป่วยหรือผู้ดูแล
วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1 เจาะเลือดหาระดับน้ำตาลในกลุ่ม ประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไป ด้วยเครื่อง DTX 3,449 คน
2 เจาะเลือดหาระดับไขมันในเลือดในกลุ่ม ประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะเสี่ยง(ผู้มีภาวะอ้วนลงพุงที่มีรอบเอวเกินในชาย > 90 ซม. ในหญิง > 80 ซม. และBMI มากกว่า 30) จำนวน 500 คน
3 คืนข้อมูลผลการเจาะเลือดให้แก่กลุ่มเสี่ยงและให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหาร การออกกำลังกายอย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยบูรณาการร่วมกับงานแพทย์แผนไทย
4 แยกกลุ่มผู้ป่วยจากการคัดกรองด้วยวาจา และนำกลุ่มเสี่ยงที่คัดกรองด้วยวาจาแล้วพบว่าเสี่ยง สูงมาก (มีค่า DM Score > 9, มีค่า DTX ก่อนทานอาหาร >126 mg% หลังทานอาหาร > 200 mg%, และผู้ที่มีค่า BP >140/90 หลังวัดซ้ำครั้งที่ 2) มาเข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ 2ส
5 กิจกรรมอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงตามหลัก 3อ 2ส
6 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังในการควบคุมอาหาร ออกกำลังกาย และป้องกันภาวะแทรกซ้อน
7 ตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ทาง ตา ไต เท้า ในผู้ป่วยโรคเบาหวานในพื้นที่ตำบลทะนง
8 อบรมให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะ 3a และ 3b ที่มีค่า eGFR อยู่ระหว่าง 30 - 59 และญาติผู้ป่วยหรือผู้ดูแล พร้อมทำแบบสอบถามก่อนและหลังให้ความรู้
9 เก็บอุจจาระของกลุ่มเสี่ยง ที่คัดกรองจากแบบสอบถามด้วยวาจาแล้วพบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยง(คะแนน > 4 คะแนน) ส่งตรวจด้วยชุดตรวจมะเร็งลำไส้ใหญ่เบื้องต้น (Fit Test)
10 แจ้งผลผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ แล้วส่งต่อให้ไปรับการตรวจยืนยันที่รพ.โพทะเล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ ได้รับการคัดกรองครบตามเป้าหมาย
30
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อคัดกรองและจำแนกประเภทของกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
0.00
2
เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคไตวาย เรื้อรัง
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยมีพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไป
0.00
3
เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่
ตัวชี้วัด : จำนวนประชากรที่เสี่ยงเป็นโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
3499
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
0
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
3,449
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองและจำแนกประเภทของกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคไตวาย เรื้อรัง (3) เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงตามหลัก 3อ 2ส (2) กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้กลุ่มป่วยในการการควบคุมอาหาร ออกกำลังกาย และภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย (3) กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะ 3a และ 3b ที่มีค่า eGFR อยู่ระหว่าง 30- 59 และญาติผู้ป่วยหรือผู้ดูแล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด พิจิตร
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทะนง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ปีงบประมาณ 2566 ”
ตำบลทนง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทะนง
สิงหาคม 2566
ที่อยู่ ตำบลทนง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทนง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทะนง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ปีงบประมาณ 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทนง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 148,809.30 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทะนง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
“โรค NCDs” (No communicable Diseases หรือโรคไม่ติดต่อ) เป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของโลกและ ของประเทศไทย โดยเฉพาะ กลุ่มโรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน โรคมะเร็งๆ โรคไตเรื้อรัง เป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตของคนไทยซึ่งมีปัจจัยมาจากพฤติกรรมเสี่ยง เช่น การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การบริโภค หวาน มันเค็ม และการมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยทางสังคม เช่น การขยายตัวของสังคมเมือง กลยุทธ์ทางการตลาด ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และการสื่อสาร ที่ส่งผลต่อวิถีชีวิตและทำให้ประชาชนป่วยด้วยโรค NCDs เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สำหรับตำบลทะนง ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้องรังที่เป็นปัญหาของตำบลทะนง ในปี 2565 ข้อมูลจาก HDC ซึ่งประชากรของตำบลทะนง ซึ่งประชากรของตำบลทะนงเป็นชาย 3,667 คน เป็นหญิง 3,837 คน รวมทั้งสิ้นตำบลทะนง มีประชากรเป็น 7,504 คน มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 1,347 ราย อัตราป่วยของโรคความดันโลหิตสูง 17,864.72 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยรายใหม่จากโรคความดันโลหิตสูง 132 ราย อัตราป่วยรายใหม่จากโรคความดันโลหิตสูง 1,759.06 ต่อแสนประชากร ป่วยตายจากโรคความดันโลหิตสูง 36 ราย อัตราป่วยตายจากโรคความดันโลหิตสูง 479.74 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยโรคเบาหวาน 559 ราย อัตราป่วยของโรคเบาหวาน 7,449.36 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยรายใหม่จากโรคเบาหวาน 45 ราย อัตราป่วยรายใหม่จากโรคเบาหวาน 599.68 ต่อแสนประชากร ป่วยตายจากโรคเบาหวาน 19 ราย อัตราป่วยตายจากโรคเบาหวาน253.19 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยโรคไตเรื้องรัง 279 ราย อัตราป่วยของโรคไตเรื้องรัง 3,718.01 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยรายใหม่จากโรคไตเรื้องรัง 3 ราย อัตราป่วยรายใหม่จากโรคไตเรื้องรัง 39.97 ต่อแสนประชากร ป่วยตายจากโรคไตเรื้องรัง 1 ราย อัตราป่วยตายจากโรคไตเรื้องรัง 13.32 ต่อแสนประชากร และการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ในกลุ่มเสี่ยง ในปี 2565 จำนวน 168 ราย มีผลเป็นบวก 52 ราย อัตราการคัดกรองมีผลเป็นบวก 692.96 ต่อแสนประชากร
จากข้อมูลข้างต้นมีผู้ป่วยจำนวนมากอยู่ในชุมชน แต่ยังมีผู้ที่มีพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคอยู่ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทะนง จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ประจำปีงบประมาณ 2566 เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงที่ยังไม่ได้รับการคัดกรอง และผู้ป่วยรายใหม่ที่ยังไม่ได้ผ่านการอบรมหรือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตั้งแต่ยังเป็นกลุ่มสี่ยง มาทำการตรวจเพิ่มเติมหรือการรักษา เพื่อให้สภาพร่างกายอยู่ในเกณฑ์ใกล้เคียงปกติ ลดเสี่ยง ลดโรค ลดผู้ป่วย และลดภาวะแทรกซ้อนของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในระยะยาว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อคัดกรองและจำแนกประเภทของกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
- เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคไตวาย เรื้อรัง
- เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงตามหลัก 3อ 2ส
- กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้กลุ่มป่วยในการการควบคุมอาหาร ออกกำลังกาย และภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย
- กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะ 3a และ 3b ที่มีค่า eGFR อยู่ระหว่าง 30- 59 และญาติผู้ป่วยหรือผู้ดูแล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 3,449 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
-ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคไตวายเรื้อรัง มีภาวะแทรกซ้อนลดลง -จำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคไตวายเรื้อรังลดลง -กลุ่มเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ ได้รับการคัดกรองครบตามเป้าหมาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงตามหลัก 3อ 2ส |
||
วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1 เจาะเลือดหาระดับน้ำตาลในกลุ่ม ประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไป ด้วยเครื่อง DTX 3,449 คน 2 เจาะเลือดหาระดับไขมันในเลือดในกลุ่ม ประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะเสี่ยง(ผู้มีภาวะอ้วนลงพุงที่มีรอบเอวเกินในชาย > 90 ซม. ในหญิง > 80 ซม. และBMI มากกว่า 30) จำนวน 500 คน 3 คืนข้อมูลผลการเจาะเลือดให้แก่กลุ่มเสี่ยงและให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหาร การออกกำลังกายอย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยบูรณาการร่วมกับงานแพทย์แผนไทย 4 แยกกลุ่มผู้ป่วยจากการคัดกรองด้วยวาจา และนำกลุ่มเสี่ยงที่คัดกรองด้วยวาจาแล้วพบว่าเสี่ยง สูงมาก (มีค่า DM Score > 9, มีค่า DTX ก่อนทานอาหาร >126 mg% หลังทานอาหาร > 200 mg%, และผู้ที่มีค่า BP >140/90 หลังวัดซ้ำครั้งที่ 2) มาเข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ 2ส 5 กิจกรรมอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงตามหลัก 3อ 2ส 6 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังในการควบคุมอาหาร ออกกำลังกาย และป้องกันภาวะแทรกซ้อน 7 ตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ทาง ตา ไต เท้า ในผู้ป่วยโรคเบาหวานในพื้นที่ตำบลทะนง 8 อบรมให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะ 3a และ 3b ที่มีค่า eGFR อยู่ระหว่าง 30 - 59 และญาติผู้ป่วยหรือผู้ดูแล พร้อมทำแบบสอบถามก่อนและหลังให้ความรู้ 9 เก็บอุจจาระของกลุ่มเสี่ยง ที่คัดกรองจากแบบสอบถามด้วยวาจาแล้วพบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยง(คะแนน > 4 คะแนน) ส่งตรวจด้วยชุดตรวจมะเร็งลำไส้ใหญ่เบื้องต้น (Fit Test) 10 แจ้งผลผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ แล้วส่งต่อให้ไปรับการตรวจยืนยันที่รพ.โพทะเล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคไตวายเรื้อรัง มีภาวะแทรกซ้อนลดลง
|
50 | 0 |
2. กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้กลุ่มป่วยในการการควบคุมอาหาร ออกกำลังกาย และภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย |
||
วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1 เจาะเลือดหาระดับน้ำตาลในกลุ่ม ประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไป ด้วยเครื่อง DTX 3,449 คน 2 เจาะเลือดหาระดับไขมันในเลือดในกลุ่ม ประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะเสี่ยง(ผู้มีภาวะอ้วนลงพุงที่มีรอบเอวเกินในชาย > 90 ซม. ในหญิง > 80 ซม. และBMI มากกว่า 30) จำนวน 500 คน 3 คืนข้อมูลผลการเจาะเลือดให้แก่กลุ่มเสี่ยงและให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหาร การออกกำลังกายอย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยบูรณาการร่วมกับงานแพทย์แผนไทย 4 แยกกลุ่มผู้ป่วยจากการคัดกรองด้วยวาจา และนำกลุ่มเสี่ยงที่คัดกรองด้วยวาจาแล้วพบว่าเสี่ยง สูงมาก (มีค่า DM Score > 9, มีค่า DTX ก่อนทานอาหาร >126 mg% หลังทานอาหาร > 200 mg%, และผู้ที่มีค่า BP >140/90 หลังวัดซ้ำครั้งที่ 2) มาเข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ 2ส 5 กิจกรรมอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงตามหลัก 3อ 2ส 6 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังในการควบคุมอาหาร ออกกำลังกาย และป้องกันภาวะแทรกซ้อน 7 ตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ทาง ตา ไต เท้า ในผู้ป่วยโรคเบาหวานในพื้นที่ตำบลทะนง 8 อบรมให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะ 3a และ 3b ที่มีค่า eGFR อยู่ระหว่าง 30 - 59 และญาติผู้ป่วยหรือผู้ดูแล พร้อมทำแบบสอบถามก่อนและหลังให้ความรู้ 9 เก็บอุจจาระของกลุ่มเสี่ยง ที่คัดกรองจากแบบสอบถามด้วยวาจาแล้วพบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยง(คะแนน > 4 คะแนน) ส่งตรวจด้วยชุดตรวจมะเร็งลำไส้ใหญ่เบื้องต้น (Fit Test) 10 แจ้งผลผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ แล้วส่งต่อให้ไปรับการตรวจยืนยันที่รพ.โพทะเล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคไตวายเรื้อรังลดลง
|
50 | 0 |
3. กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะ 3a และ 3b ที่มีค่า eGFR อยู่ระหว่าง 30- 59 และญาติผู้ป่วยหรือผู้ดูแล |
||
วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1 เจาะเลือดหาระดับน้ำตาลในกลุ่ม ประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไป ด้วยเครื่อง DTX 3,449 คน 2 เจาะเลือดหาระดับไขมันในเลือดในกลุ่ม ประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะเสี่ยง(ผู้มีภาวะอ้วนลงพุงที่มีรอบเอวเกินในชาย > 90 ซม. ในหญิง > 80 ซม. และBMI มากกว่า 30) จำนวน 500 คน 3 คืนข้อมูลผลการเจาะเลือดให้แก่กลุ่มเสี่ยงและให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหาร การออกกำลังกายอย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยบูรณาการร่วมกับงานแพทย์แผนไทย 4 แยกกลุ่มผู้ป่วยจากการคัดกรองด้วยวาจา และนำกลุ่มเสี่ยงที่คัดกรองด้วยวาจาแล้วพบว่าเสี่ยง สูงมาก (มีค่า DM Score > 9, มีค่า DTX ก่อนทานอาหาร >126 mg% หลังทานอาหาร > 200 mg%, และผู้ที่มีค่า BP >140/90 หลังวัดซ้ำครั้งที่ 2) มาเข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ 2ส 5 กิจกรรมอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงตามหลัก 3อ 2ส 6 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังในการควบคุมอาหาร ออกกำลังกาย และป้องกันภาวะแทรกซ้อน 7 ตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ทาง ตา ไต เท้า ในผู้ป่วยโรคเบาหวานในพื้นที่ตำบลทะนง 8 อบรมให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะ 3a และ 3b ที่มีค่า eGFR อยู่ระหว่าง 30 - 59 และญาติผู้ป่วยหรือผู้ดูแล พร้อมทำแบบสอบถามก่อนและหลังให้ความรู้ 9 เก็บอุจจาระของกลุ่มเสี่ยง ที่คัดกรองจากแบบสอบถามด้วยวาจาแล้วพบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยง(คะแนน > 4 คะแนน) ส่งตรวจด้วยชุดตรวจมะเร็งลำไส้ใหญ่เบื้องต้น (Fit Test) 10 แจ้งผลผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ แล้วส่งต่อให้ไปรับการตรวจยืนยันที่รพ.โพทะเล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ ได้รับการคัดกรองครบตามเป้าหมาย
|
30 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อคัดกรองและจำแนกประเภทของกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคไตวาย เรื้อรัง ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยมีพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไป |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ ตัวชี้วัด : จำนวนประชากรที่เสี่ยงเป็นโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 3499 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 0 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 3,449 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองและจำแนกประเภทของกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคไตวาย เรื้อรัง (3) เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงตามหลัก 3อ 2ส (2) กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้กลุ่มป่วยในการการควบคุมอาหาร ออกกำลังกาย และภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย (3) กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะ 3a และ 3b ที่มีค่า eGFR อยู่ระหว่าง 30- 59 และญาติผู้ป่วยหรือผู้ดูแล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด พิจิตร
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทะนง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......