กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงเพชร


“ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียนบ้านชายคลอง (อย.น้อย) ”

ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวภูชรินทร์ หนุนอนันต์

ชื่อโครงการ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียนบ้านชายคลอง (อย.น้อย)

ที่อยู่ ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67 - L8020 - 01 - 01 เลขที่ข้อตกลง 3/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียนบ้านชายคลอง (อย.น้อย) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียนบ้านชายคลอง (อย.น้อย)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียนบ้านชายคลอง (อย.น้อย) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67 - L8020 - 01 - 01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะทุพโภชนาการ (Matnutrition) เป็นภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารหรือพลังงานในปริมาณที่ไม่เหมาะสม โดยครอบคลุมทั้งภาวะโภชนาการต่ำหรือภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอ ซึ่งอาจส่งผลให้มีน้ำหนักตัวน้อยหรือรู้สึกอ่อนเพลียตลอดเวลา และภาวะโภชนาการเกินหรือภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารในปริมาณที่มากเกินไปจนทำให้เกิดภาวะอ้วน ทั้งนี้ ภาวะทุพโภชนาการอาจส่งผลต่อทั้งสภาพ ร่างกาย สภาพจิตใจ และการใช้ชีวิตประจำวันของผู้ป่วย จากการสำรวจภาวะโภชนาการในโรงเรียนบ้านชายคลองพบว่ามีเด็กนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษามีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะทุพโภชนาการคิดเป็นร้อยละ 31.92 และในปัจจุบันพบสารปนเปื้อนหลายชนิดที่เป็นอันตรายต่อการบริโภคอาหาร โดยในปีที่ผ่านมายังพบโรคที่เกิดจากการบริโภคอาการในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลกำแพงเพชร ได้แก่ โรคอุจจาระร่วง โรคติดเชื้อ Streptococcus suis และโรคโรคไข้ไทฟอยด์ ดังนั้นทางศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลตำบลกำแพงเพชร เมื่อได้เห็นปัญหาที่เกิดขึ้นจึงได้จัดทำ "โครงการคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียนบ้านชายคลอง (อย.น้อย)" เพื่อเเก้ไขปัญหาเเละป้องกันเด็กที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะทุพโภชนาการ เเละภัยอันตรายจากการบริโภคอาหาร ทำให้นักเรียนสามารถเลือกบริโภคอาารได้อย่างถูกสุขอนามัยรวมทั้งการอาการฉลากโภชนาการอาหารได้อย่างถูกต้องเเละรู้ถึงประโยชน์ของการอ่านฉลาก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านชายคลองรวมทั้งบุคลากรในโรงเรียน จำนวน 40 คน
  2. เพื่อให้ อย.น้อย มีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดีต่อการบริโภค เเละตระหนักในเรื่องการเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัย
  3. เพื่อให้ อย.น้อย สามารถรู้เท่าทันสื่อโฆษณาก่อนจะเลือกบริโภคอาหาร เเละสามารถบริโภคอาหารในปริมาณที่เหมาะสม
  4. อย.น้อย สามารถวิเคราะห์อาหารที่มีสารปนเปื้อนได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประสานกับทางโรงเรียนเพื่อคัดเลือกตัวเเทน เพื่อเข้ารับการอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขในโรงเรียน จำนวน 40 คน
  2. กิจกรรมจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้เเละเเนวทางการปฏิบัติ ทางด้านการส่งเสริมสุขภาพเบื่องต้นการดูเเลตนเอง เเละช่วยเหลือผู้อื่นเบื้องต้นให้เเก่ตัวเเทนนักเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนได้รับความรู้ความเข้าใจและมีทัศนคติที่ดีต่อการบริโภค อาหารที่สะอาด ปลอดภัย
  2. นักเรียนมีความตระหนักในเรื่องการเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัย
  3. นักเรียนสามารถรู้เท่าทันสื่อโฆษณาก่อนจะเลือกบริโภคอาหาร และสามารถบริโภคอาหารในปริมาณที่เหมาะสม
  4. นักเรียนสามารถวิเคราะห์อาหารที่มีสารปนเปื้อนได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านชายคลองรวมทั้งบุคลากรในโรงเรียน จำนวน 40 คน
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมในโครงการคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน

 

2 เพื่อให้ อย.น้อย มีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดีต่อการบริโภค เเละตระหนักในเรื่องการเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : อย.น้อย สามารถทำเเบบทดสอบหลังเข้าร่วมการอบรมได้คะเเนนร้อยละ 80

 

3 เพื่อให้ อย.น้อย สามารถรู้เท่าทันสื่อโฆษณาก่อนจะเลือกบริโภคอาหาร เเละสามารถบริโภคอาหารในปริมาณที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : อย.น้อย สามารถอ่านฉลากโภชนาการได้อย่างถูกต้อง เเละสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

 

4 อย.น้อย สามารถวิเคราะห์อาหารที่มีสารปนเปื้อนได้
ตัวชี้วัด : อย.น้อย มีความสามารถในการสังเกตการปนเปื้อนของอาหารได้

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านชายคลองรวมทั้งบุคลากรในโรงเรียน จำนวน 40 คน (2) เพื่อให้ อย.น้อย มีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดีต่อการบริโภค เเละตระหนักในเรื่องการเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัย (3) เพื่อให้ อย.น้อย สามารถรู้เท่าทันสื่อโฆษณาก่อนจะเลือกบริโภคอาหาร เเละสามารถบริโภคอาหารในปริมาณที่เหมาะสม (4) อย.น้อย สามารถวิเคราะห์อาหารที่มีสารปนเปื้อนได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประสานกับทางโรงเรียนเพื่อคัดเลือกตัวเเทน เพื่อเข้ารับการอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขในโรงเรียน จำนวน 40 คน (2) กิจกรรมจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้เเละเเนวทางการปฏิบัติ ทางด้านการส่งเสริมสุขภาพเบื่องต้นการดูเเลตนเอง เเละช่วยเหลือผู้อื่นเบื้องต้นให้เเก่ตัวเเทนนักเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียนบ้านชายคลอง (อย.น้อย) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67 - L8020 - 01 - 01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวภูชรินทร์ หนุนอนันต์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด