กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะต๊ะ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนด้านบริหารจัดการขยะและน้ำเสียในโรงเรียน ”

ตำบลยะต๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวหาซาน๊ะ องสารา

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนด้านบริหารจัดการขยะและน้ำเสียในโรงเรียน

ที่อยู่ ตำบลยะต๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนด้านบริหารจัดการขยะและน้ำเสียในโรงเรียน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะต๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนด้านบริหารจัดการขยะและน้ำเสียในโรงเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนด้านบริหารจัดการขยะและน้ำเสียในโรงเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะต๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,764.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องสภาพสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนและชุมชนเป็นสิ่งจำเป็นที่เราจะต้องดูแลรักษา โดยเพิ่ม  พื้นที่สีเขียว การรณรงค์การไม่ใช้ถุงพลาสติก การคัดแยกขยะ การปลูกผักปลอดสารเคมี การประกอบอาหารภายในโรงอาหารของโรงเรียนมีส่วนทำให้น้ำและสภาพแวดล้อมเสีย เนื่องจากไม่มีการบำบัดน้ำเสียก่อนปล่อยลงสู่    ท่อระบายน้ำสาธารณะ ซึ่งน้ำทิ้งเหล่านี้ส่วนใหญ่จะเป็นน้ำจากการชำระล้าง ซึ่งประกอบไปด้วยสารอินทรีย์  น้ำยาล้างจาน ผงซักฟอก เศษอาหาร น้ำมัน ไขมัน สารอินทรีย์ และสิ่งปฏิกูลอื่นๆ เจือปนอยู่ ที่ทำให้เกิด    การเน่าเหม็นและเชื้อโรคต่างๆ เมื่อน้ำถูกปล่อยทิ้งไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ และที่นา โดยไม่มีการบำบัดก่อน จะส่งผลกระทบต่อคุณภาพน้ำทำให้แหล่งน้ำธรรรมชาติมีสภาพเสื่อมโทรม หรือน้ำเน่าเสีย มีสีดำและส่งกลิ่นเหม็น    ไม่สามารถใช้ประโยชน์ในการอุปโภค ทั้งนี้ เพื่อช่วยลดปัญหา มลพิษทางน้ำของแหล่งน้ำในอนาคต      โรงเรียนบ้านอาเหอูโต๊ะ จึงเห็นควรส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีการจัดการขยะและน้ำเสียจากแหล่งกำเนิดให้มี    ความเหมาะสมโดยเฉพาะจากโรงเรียน ชุมชน โดยการติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียเพื่อเป็นการช่วยลดระดับ    ความรุนแรงของมลพิษทางสิ่งแวดล้อม อีกทั้งเป็นการส่งเสริม สร้างความตระหนักให้แก่ผู้เรียน ในการดูแลรักษาสภาวะแวดล้อมของชุมชน ซึ่งการจัดการขยะและน้ำเสียจากโรงเรียนต้องมีการนำน้ำเสียที่เกิดขึ้น          เข้าสู่กระบวนการจัดการขยะและการบำบัด น้ำเสีย ก่อนปล่อยน้ำทิ้งลงสู่ท่อระบายสาธารณะเป็นวิธีการหนึ่ง    ในการแก้ไขปัญหาและลดความสกปรกที่ปนเปื้อน ลงสู่แหล่งน้ำ ได้แก่ ไขมัน น้ำมัน สารอินทรีย์ สารอนินทรีย์ สารพิษ รวมทั้งเชื้อโรคต่างๆ ให้หมดไปหรือเหลือน้อยที่สุด เมื่อปล่อยน้ำทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ จะทำให้แหล่งน้ำเน่าเสีย ซึ่งโรงเรียนควรมีกระบวนการบำบัดน้ำเสียก่อนปล่อย สู่แหล่งน้ำสาธารณะ ด้วยเหตุผลดังกล่าว          โรงเรียนบ้านอาเหอูโต๊ะ จึงจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนด้านบริหารจัดการขยะและน้ำเสีย    ในโรงเรียนขึ้น เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้ช่วยกันดูแลรักษา และป้องกันไม่ให้น้ำเน่าเสียส่งผลกระทบต่อชุมชน  และประเทศในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ครู เจ้าหน้าที่ นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจผลกระทบของขยะและน้ำเสียที่ส่งผลต่อสุขภาพ
  2. เพื่อให้โรงเรียนน่าอยู่ มีการจัดการขยะที่ถูกต้องและไม่เกิดปัญหาน้ำเสีย เพื่อลดปัญหามลพิษทางน้ำ รวมทั้งเป็นการส่งเสริมและสร้างจิตสำนึกที่ดีให้กับนักเรียน ในการเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 144
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. โรงเรียนสามารถเป็นพื้นที่เรียนรู้ในการจัดการขยะและการบำบัดน้ำเสีย
    2. ครู เจ้าหหน้าที่ นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจผลกระทบจากขยะและน้ำเสียต่อสุขภาพของประชาชน
    3. สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาและกระจายสู่ชุมชนได้
    4. โรงเรียนมีสวนร่วมในการแก้ไขปัญหาจัดการสิ่งแวดล้อมร่วมกัน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ครู เจ้าหน้าที่ นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจผลกระทบของขยะและน้ำเสียที่ส่งผลต่อสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจผลกรทบของขยะและน้ำเสียที่ส่งผลต่อสุขภาพ

     

    2 เพื่อให้โรงเรียนน่าอยู่ มีการจัดการขยะที่ถูกต้องและไม่เกิดปัญหาน้ำเสีย เพื่อลดปัญหามลพิษทางน้ำ รวมทั้งเป็นการส่งเสริมและสร้างจิตสำนึกที่ดีให้กับนักเรียน ในการเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้ที่เกี่ยวข้องมีความพึงพอใจในการดำเนินการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 144
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 144
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ครู เจ้าหน้าที่ นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจผลกระทบของขยะและน้ำเสียที่ส่งผลต่อสุขภาพ (2) เพื่อให้โรงเรียนน่าอยู่ มีการจัดการขยะที่ถูกต้องและไม่เกิดปัญหาน้ำเสีย เพื่อลดปัญหามลพิษทางน้ำ รวมทั้งเป็นการส่งเสริมและสร้างจิตสำนึกที่ดีให้กับนักเรียน ในการเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนด้านบริหารจัดการขยะและน้ำเสียในโรงเรียน จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวหาซาน๊ะ องสารา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด